Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2567
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | รวินันท์ ประดิษฐ์แสงทอง | - |
dc.date.accessioned | 2024-09-17T08:03:51Z | - |
dc.date.available | 2024-09-17T08:03:51Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2567 | - |
dc.description.abstract | เทคโนโลยีความจริงเสมือนถูกนำมาประยุกต์ใช้กับงานหลากหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นงานด้าน สันทนาการ งานด้านธุรกิจ หรืองานด้านการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในงานด้านการแพทย์ แอปพลิเคชันความจริงเสมือนถูกใช้ในการรักษาและฟื้นฟูร่างกายของผู้ป่วย ดังนั้นจึงมีการพัฒนาแอปพลิเคชั่น ให้มีสภาพแวดล้อมเสมือนจริงและผู้ใช้สามารถเข้าใช้งานผ่านอุปกรณ์ที่รองรับ เช่น โอคูลัสเควส หรือโอคูลัสริฟ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้งานวิจัยจึงมีวัตถุประสงค์สองข้อด้วยกันคือ 1) เพื่อศึกษาและพัฒนาแอปพลิเคชันความจริงเสมือนด้วยยูนิตี้เอนจิ้น และ 2) เพื่อค้นหารูปแบบของการทำนายความรู้สึกปกติและความรู้สึกตื่นเต้น/ตื่นกลัวจากคลื่นไฟฟ้าสมองแอปพลิเคชันความจริงเสมือนถูกติดตั้งในอุปกรณ์โอคูลัสเควส 2 และทดสอบกับบุคลากรของมหาวิทยาลัยรังสิตในช่วงการตรวจสุขภาพประจำปี ซึ่งคลื่นไฟฟ้าสมองนั้นถูกใช้ในการจำแนกความแตกต่างระหว่างความรู้สึกปกติและความรู้สึกตื่นเต้น/ตื่นกลัว โดยกระบวนการจำแนกความรู้สึกใช้ข้อมูลคลื่นไฟฟ้าสมอง 3ชนิด ได้แก่ อัลฟา เบต้า และแกมม่า ซึ่งข้อมูลคลื่นไฟฟ้าสมองนี้ถูกนำไปใช้ในการหารูปแบบความรู้สึกปกติและความรู้สึกตื่นเต้น/ตื่นกลัวขณะรับบริการเจาะเลือดด้วยอัลกอริทึมการถดถอยโลจิสติกส์ และนำไปสู่การพัฒนาต้นแบบการจำแนกความรู้สึก ต้นแบบนี้มีค่าความแม่นยำ (Accuracy) ที่ 80.00% และมีค่าแสดงประสิทธิภาพ (F1-Score) ของต้นแบบเป็น 88.89% | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การเจาะเลือด -- วิธีการ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | แอพพลิเคชั่น -- การพัฒนา -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ -- การออกแบบและการสร้าง | en_US |
dc.subject | เทคโนโลยีเสมือนจริง | en_US |
dc.title | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การพัฒนาแอปพลิเคชันเสมือนจริงเพื่อช่วยลดความตื่นเต้นและตื่นกลัวจากการเจาะเลือด | en_US |
dc.title.alternative | Development of a virtual reality application for reducing anxiety of venipuncture | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | Virtual Reality (VR) technology is applied to several areas, such as recreation, business, and medicine. Especially in the medical field, virtual reality applications are used for treating and rehabilitating patients. Thus, there is a lot of development of a virtual environment application, and users can use the application via supportive devices such as Oculus Quest and Oculus Rift. For this reason, the research has two objectives: 1) to study and develop virtual reality applications using the Unity engine and 2) to find patterns of neutral and anxious feelings from Electroencephalography (EEG). The VR application is installed on Oculus Quest 2 and tested with a staff of Rangsit University during the health check. The EEG is applied to classify the differences between neutral and anxious feelings. A method of feeling classification was designed according to the value of Alpha, Beta, and Gamma. This data is used to find the pattern of neutral and anxious feelings during venipuncture. Logistic regression is an algorithm to classify feelings that led to the development of a feeling classification model. The model's accuracy was 80.00%, and F1-score was 88.89% | en_US |
Appears in Collections: | ICT-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RAWINAN PRADITSANGTHONG.pdf | 3.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.