Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2571
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ณชรต อิ่มณะรัญ | - |
dc.contributor.author | กฤษณ์ ทองเลิศ | - |
dc.date.accessioned | 2024-09-17T08:35:50Z | - |
dc.date.available | 2024-09-17T08:35:50Z | - |
dc.date.issued | 2567 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2571 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เข้าใจถึงเนื้อหา วิธีการสื่อความหมายและวิธีการเล่าเรื่องเกี่ยวกับความตายที่สื่อสารบนภาพจิตรกรรมฝาผนังอีสานในประเทศไทยโดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับ ฮูบแต้มบนสิมอีสาน วรรณกรรมเนื่องในพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับความตายและหลักธรรมเรื่องมรณานุสติ การเล่าเรื่อง แนวทางงการรศึกษาเชิงสัญภาณศาสตร์และการรสร้างสัมพันธบท เป็นแนวทางงในการรวิเคราะห์ข้อมูล การรวิจัยเป็นการรวิจัยเชิงคุณภาพโดยการรวิเคราะห์ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดภาคอีสานจำนวน 16 วัด ผลจากการรวิจัยดังนี้ 1) เนื้อหาเกี่ยวกับความตายจำแนกได้ 4 กลุ่มคือ สาเหตุการตาย การรจัดการรพิธีศพ ความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตาย และเนื้อหาบริบทที่เกี่ยวกับความตาย 2) วิธีการรสื่อความหมายได้แก่ การรสร้างสัมพันธบทกับวรรณกรรมเนื่องในพุทธศาสนา การรใช้รหัสภาพจิตรกรรม การจัดองค์ประกอบเชิงพื้นที่ การรใช้สัญลักษณ์ในเชิงพิธีกรรม การรสร้างความเป็นคู่ตรงข้ามและการรใช้รหัสสัญรูปภาษาท่าทางเพื่อสื่อเนื้อหาเชิงอารมณ์ 3) วิธีการรเล่าเรื่อง พบว่าองค์ประกอบของเรื่องเล่า 7 ประการรดังนี้ ก) ตัวเรื่องได้แก่ เรื่องชีวิตและความตายตามแนววิถีโลก เรื่องวัฏฏะการรเกิด แก่ เจ็บ ตาย เรื่องการรจัดการรพิธีศพ เรื่องการรรับผลกรรมจากบาปบุญของผู้ตาย ข) โครงเรื่อง การรเริ่มเรื่องด้วยการรเห็นนรกเป็นปฐม การรพัฒนาเหตุการรณ์ว่าทุกชีวิตเดินทางงสู่ความตาย ขั้นภาวะวิกฤตเมื่อถึงวันพิพากษา ขั้นภาวะคลี่คลายว่าด้วยสัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม การรปิดเรื่องด้วยห้วงคำนึงถึงมรณานุสติ ค) แก่นเรื่อง พบประเด็นแก่นเรื่องที่โดดเด่นคือ แก่นเรื่องเกี่ยวกับศีลธรรม แก่นเรื่องรองเป็นเรื่องปัญหาทางสังคมเป็นเหตุปัจจัยเบื้องหลัง ง) ตัวละคร จำแนกได้ 2 ประเภทคือ มนุษย์ สามารถจำแนกได้เป็นมนุษย์สามัญชนกับมนุษย์ผู้มีพลังวิเศษ อมนุษย์ จำแนกได้เป็นสามกลุ่มคือ กลุ่มเทพเทวดา กลุ่มผู้ปฏิบัติงานในยมโลก และกลุ่มสัตว์นรก ลักษณะบุคลิกตัวละครทั้งหมดเป็นตัวละครที่ไม่ซับซ้อน จ)ความขัดแย้งพบว่ามีความขัดแย้งระหว่างสภาวะความเป็นมนุษย์กับมัจจุมาร ความขัดแย้งระหว่างมนุษย์กับกฎธรรมชาติ ความขัดแย้งระหว่างมนุษย์กับสังคม ฉ) มุมมองการรเล่าเรื่อง เป็นการรเล่าในมุมมองแบบผู้รอบรู้ ช)ฉาก พบว่า มีฉาก 3 ประเภทคือ ฉากธรรมชาติ ฉากที่เป็นการรดำเนินชีวิตของตัวละคร และฉากที่เป็นสภาพแวดล้อมเชิงนามธรรม ในส่วนของวิธีการรเล่าเรื่องเกี่ยวกับความตาย พบว่ามีวิธีการรเล่าเรื่อง 3 ลักษณะคือ ก) การรเล่าเรื่องผ่านสัมพันธบท ข) การรเล่าเรื่องความตายในเชิงบูรณาการรทั้งรูปแบบตามลำดับและไม่ลำดับเวลา ค) การรเล่าเรื่องความตายแบบไม่ต่อเนื่อง ด้วยลักษณะดังกล่าวทางให้การรเล่าเรื่องเน้นการรเล่าเพื่อสนองตอบอารมณ์ที่น่ากลัวหรืออารมณ์สงบเพื่อการรเข้าถึงสัจธรรมมรณานุสติ | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | จิตรกรรมฝาผนัง -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) | en_US |
dc.subject | ความตาย -- แง่ศาสนา | en_US |
dc.subject | การสื่อความหมาย | en_US |
dc.title | รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง การเล่าเรื่องเกี่ยวกับความตายบนภาพจิตรกรรมฝาผนังอีสานในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | The narratives of death on Isan temple mural paintings in Thailand | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | The purpose of this research was to understand the content, signification, and narratives of death on temple mural paintings in the northeastern region (Isan) of Thailand. Concept of Isan mural paintings, Buddhist literature about death and the “Maranasati.” or the mindfulness of death discipline, Narrative approach, Semiology and Intertextuality were used as a framework for data analysis, while qualitative research methodology was used to analyze mural paintings of 16 Isan temples. The results are as follows; 1) Content related to death could be divided into 4 groups: causes of death, funeral arrangements, beliefs in the afterlife, and contextual content related to death. 2) Methods for signification, including creating intertextual relationships with Buddhist literature, using mural painting codes, spatial organization, symbols in rituals, and binary opposition, as well as the use of body language iconic codes to express emotional content. 3) Narrations were found using 7 elements: (a) stories – stories about life and death according to ways of life, the cycle of birth, old age, sickness, and death, funeral ceremonies, and karma from the sins of the deceased, (b) plots – beginning with the ‘exposition’ explaining hell as the beginning, then the ‘rising action’ where every life moves on to death, ‘climax’ when the judgment day arrives, ‘falling action’ when lives follow the rule of karma, and the ‘ending’ with mindfulness of death, (c) themes – the primary theme revolved around morality and the secondary theme was about social issues as the background factor, (d) characters - characters could be classified into 2 groups: human beings (ordinary humans and humans with magical powers) and non-humans (gods, deities, workers of the underworld, and underworld creatures) and all characters had non-complex personalities, (e) conflicts – there were often conflicts between human beings and mara, human beings and the laws of nature, and human beings and society, (f) points of view – the omniscient point of view was used, and (g) setting – three types of scenes were used: natural scenes, livelihood scenes, and abstract scenes. In terms of narratives of death – 3 methods were found used for narratives of death: (a) narrations through intertextuality, (b) applied narrations of death in both chronological and non-chronological formats, and (c) non-continuous death narrations focusing on telling stories to respond to emotions such as fear or peacefulness in order to promote understanding of Maranasati | en_US |
Appears in Collections: | CA-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NACHARATA AIMNARAN.pdf | 4.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.