Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2572
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ญาณวุฒิ สุพิชญางกูร | - |
dc.date.accessioned | 2024-09-17T08:52:00Z | - |
dc.date.available | 2024-09-17T08:52:00Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2572 | - |
dc.description.abstract | ระบบปรับอากาศของ สำนักงาน ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ มีการปรับเปลี่ยนมาใช้ เครื่องปรับอากาศแบบควบคุมปริมาณการจ่ายสารทำ ความเย็นแปรผัน ดังนั้น งานวิจัยนี้ได้ มีแนวคิดในการ ออกแบ บ และจัดทำ ดิจิทัลแพลตฟอร์มระบบจัดการพลังงาน ที่มี เชื่อมต่อ กับ ชุดส่งสัญญาณการเชื่อมต่ออัตโนมัติ ด้วยอุ ปกรณ์ตรวจวัดพลังงานดิจิตอลมิเตอร์ ที่สามารถตรวจสอบ ติดตามการใช้พลังงานของ ระบบปรับอากาศแบบปรับน้ำยาแปรผัน แบบทันที ตามเวลาจริง และ ประเมิน การใช้พลังงาน เทียบกับ เครื่องปรับอากาศ รุ่นเก่าที่เคยติดตั้ง พร้อมทั้งวิเคราะห์คาดการณ์การใช้พลังงานล่วงหน้า 3 ปี ด้วยสมการพยากรณ์การใช้พลังงาน รวมถึง การวิเคราะห์คุณภาพอากาศ เปรียบ เทียบกับเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศภายใน อาคาร ผลการ วิจัย พบว่า ดิจิทัลแพลตฟอร์ม ระบบบริหารจัดการพลังงานของระบบปรับอากา ศ แบบ ปรับน้ำยาแปรผัน สามารถประมวลผล และติดตามข้อมูลพลังงาน มาทำการวิเคราะห์ด้านต่างๆได้ตาม วัตถุประสงค์ การใช้พลังงานระบบปรับอากาศ ประกอบด้วย กำลังไฟฟ้า , กระแสไฟฟ้า , แรงดันไฟฟ้า , ความถี่ , หน่วยไฟฟ้าและตัวประกอบกำลังไฟฟ้า โดยแสดงผลไปยังดิจิทัลแพลตฟอร์ม และ สามารถจัดเก็บเป็น ฐานข้อมูลการใช้พลังงาน ที่ มหาวิทยาลัยได้ ทั้งแสดงผล หน่วยการใช้พลังงานไฟฟ้า ปัจจุบันและย้อนหลัง เป็นแบบ ทันที ตามเวลาจริง , รายวัน , รายเดือน และ รายปี และแสดง ผลปริมาณการใช้พลังงาน สะสมและผลประหยัดพลังงาน พร้อมทั้ง สามารถ นำข้อมูลออก ไปใช้ประมวลผลด้านอื่นๆ ได้ส่วน ด้านการ ประเมินผลประหยัดพลังงาน ระหว่าง เครื่องปรับอากาศแบบควบคุมปริมาณการจ่ายสารทำความเย็นแปรผัน และ เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน ในปัจจุบัน และเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนรุ่นเก่าที่เคยติดตั้ง พบว่า เครื่องปรับอากาศ แบบควบคุมปริมาณการจ่ายสารทำความเย็นแปรผันสามารถประหยัดพลังงานไฟฟ้ามากกว่า เครื่องปรับอากาศ แบบแยกส่วนรุ่นเก่าที่เคยติดตั้ง เป็นจำนวน 6666,427.97 kWh/ปี และเปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานไฟฟ้า เท่ากับ 76.94% มีระยะเวลาคืนทุน 2 ปี 3 เดือน และความคุ้มค่าของการเปลี่ยนมา ใช้เครื่องปรับอากาศ แบบควบคุมปริมาณการจ่ายสารทำความเย็นแปรผัน มี อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อเงินลงทุน ( B/C) เท่ากับ 3.08 แสดงได้ ว่า สามารถ ตัดสินใจในการลงทุน ได้ และ ผลการ ประเมิน คุณภาพอากาศ ภายในห้อง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศภายในอาคาร ของ มาตรฐาน ASHRAE 55 และ มาตรฐาน ASHRAE62.1 และ จาก ข้อมูลการใช้พลังงานรายเดือนย้อนหลัง 2 ปี 6 เดือน สามารถ วิเคราะห์คาดการณ์ค่าการใช้พลังงานล่วงหน้า 3 ปี ได้ สมการพยากรณ์การใช้พลังงาน ดังนี้ y = 0.4301x2 - 7.1906x + 1266.4 โดยมีค่าความคลาดเคลื่อน การใช้พลังงานไฟฟ้า เท่ากับ 2.8 % และค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยสัมบูรณ์เท่ากับ 1.31 % แสดงว่า การพยากรณ์ การใช้ พลังงานไฟฟ้า ในอนาคต สามารถเชื่อมั่นได้ | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ระบบปรับอากาศ -- การอนุรักษ์พลังงาน | en_US |
dc.subject | การปรับอากาศ -- การอนุรักษ์พลังงาน | en_US |
dc.subject | นวัตกรรมทางเทคโนโลยี -- การจัดการ | en_US |
dc.title | การพัฒนาระบบบริหารจัดการพลังงานของระบบปรับอากาศแบบปรับน้ำยาแปรผัน(VRF) ด้วยเทคโนโลยีนวัตกรรมดิจิทัลแพลตฟอร์ม | en_US |
dc.title.alternative | Development of energy management systems for Variable Refrigerant Flow (VRF) air conditioning systems using innovative digital platform technology | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | The Air conditioning system of the Department of Mechanical Engineering office, College of Engineering, Rangsit University has been upgraded to use a variable refrigerant flow air conditioning system. Therefore, this research has the concept of designing and creating a digital energy management platform connected to an automatic communication system, utilizing digital energy meters for measuring and tracking real-time energy usage of the variable refrigerant flow air conditioning system with instantaneous adjustments according to real-time. And evaluate the energy consumption compared to the older installed air conditioning system. Additionally, forecast energy consumption over the next 3 years using energy consumption prediction equations, as well as analyze air quality in comparison with indoor air quality standards. The research results, the digital energy management platform of the variable refrigerant flow air conditioning system is capable of processing and tracking energy data for various analyses according to the energy usage objectives of the air conditioning system. It consists of electrical power, electric current, voltage, frequency, electrical units, and electrical power factor. The results are displayed on the digital platform and can be stored in a database, the energy usage data can be stored at the university includes real-time and historical electricity consumption data. This data is in real-time, showing daily, monthly, and yearly displays. It also presents the cumulative energy usage and energy savings, and the data can also be utilized for various other analyses. The evaluation of energy savings is conducted between the variable refrigerant flow air conditioning system and the split type air conditioners, as well as the older installed air conditioning system, amounting to 66,427.97 kWh per year, an energy-saving efficiency of 76.94%. The payback period was determined to be 2 years and 3 months, with a benefit-to-cost ratio (B/C) of 3.08, indicating a viable investment decision | en_US |
Appears in Collections: | Eng-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
YANNAVUT SUPICHAYANGGOON.pdf | 2.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.