Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2668
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อวิรุทธ์ เจริญทรัพย์ | - |
dc.contributor.author | พชร นิจนันท์ | - |
dc.date.accessioned | 2025-01-15T07:55:09Z | - |
dc.date.available | 2025-01-15T07:55:09Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2668 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2566 | en_US |
dc.description.abstract | ในปัจจุบันการใช้ชีวิตในยุคนี้ต่างก็มีหลายปัจจัยที่ทำให้คนเราเลือกที่จะทิ้งสิ่งที่วาดฝันไว้เอาไว้เป็นเรื่องรองและเลือกใช้ชีวิตที่ทำให้ตัวเองสามารถอยู่ได้ในปัจจุบันผู้คนที่ทำตามความฝัน แต่ไม่ประสบความสำเร็จนั้นมีมากมาย ไม่ใช่พวกเขาเหล่านั้นไม่มีความสามารถแต่พวกเขาอาจไม่ได้รับโอกาศในการแสดงสิ่งนั้นให้คนอื่นเห็น ปิดกันจินตนาการและความฝันในสิ่งที่ชอบคิดว่ามันคงเป็นไปไม่ได้และยอมแพ้ไปปิดกั้นความคิดปิดกั้นจินตนาการ ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงออกแบบแอนิเมชัน 3มิติ โดยมีวัตุประสงค์เกี่ยวกับมุมมองการใช้ชีวิตในประเด็นที่แตกต่างกันและเพื่อผลักดันให้คนเราไม่ทิ้งความฝัน ผู้วิจัยศึกษากระบวนการผลิตแอนิเมชัน 3มิติ ความยาว 2.30 นาที จากนั้นให้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 รับชมและทำการประเมิณจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยบุคคลทั่วไปที่สนใจเข้ามาชมผลงาน ผลจากการวิจัยพบว่าผู้รับชมชอบการออกแบบตัวละครกับความสวยงามของตัวละคร 3มิติ ส่วนการใช้สีประกอบฉากและการออกแบบเมืองอยู่ในเกณฑ์ที่ดี | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์สามมิติ -- การออกแบบ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | นิทาน -- การออกแบบ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การสร้างภาพเคลื่อนไหวในคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.title | การออกแบบนิทาน เรื่อง การส่งต่อความฝัน | en_US |
dc.title.alternative | Designing a story about passing on dream | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | Nowadays, there are many factors that force people to prioritize living a real life instead of living a dream life. Many people follow their dreams but do not succeed. Many try to live a dream life but fail to make their dream come true despite their capabilities; maybe, they lack opportunity to show those capabilities. Some choose to lock away imagination and refuse to follow our dreams, thinking that those dreams are impossible to come true. The research then aimed to investigate different perspectives on life and produce a 3D animation entitled “Sharing Dreams” with a length of 2.30 minutes was produced following the production process. A sample group of 30 participants interested in watching the animation was recruited to watch this animation. After watching it, they were requested to answer a questionnaire as a data collection tool. The results revealed that the participant liked the design of the characters. The colors in the animation and the design of the city met the production standards. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | คอมพิวเตอร์อาร์ต | en_US |
Appears in Collections: | DIA- ComArt-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
POJCHARA NIJPHINAND.pdf | 2.72 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.