Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2673
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยพร พานิชรุทติวงศ์-
dc.contributor.authorปรานต์ เขื่อนแก้ว-
dc.date.accessioned2025-01-15T08:45:17Z-
dc.date.available2025-01-15T08:45:17Z-
dc.date.issued2567-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2673-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2567en_US
dc.description.abstractจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า คนพิการทางการได้ยินเป็นกลุ่ม ผู้ด้อยโอกาสของสังคมที่ถูกละเมิดสิทธิ และถูกเลือกปฏิบัติมากที่สุดกลุ่มหนึ่งด้วยปัญหาความ ลำบากในการสื่อสารกับผู้อื่น บางครั้งอาจถูกล้อเลียนกลั่นแกล้งท าให้ได้รับผลกระทบทางด้าน จิตใจ ขาดความภูมิใจและมั่นใจในตนเอง งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาข้อมูล และกระบวนสร้างสรรค์งานแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง “อยากเป็นเพื่อนเธอ” เพื่อปลูกจิตส านึกเยาวชนให้เกิดความเข้าใจถึงปัญหาและเกิดแรงจูงใจที่จะให้ความรัก ความใส่ใจต่อคนพิการทางการได้ยิน ผลประเมินความพึงพอใจในการรับชมแอนิเมชัน 2 มิติ จากการทดลองเผยแพร่แอนิเมชันให้กับ กลุ่มเยาวชน จำนวน 30 คน โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ พบว่า กลุ่มเยาวชนมีความพึงพอใจ มากที่สุดในด้านเนื้อหาและประโยชน์ ด้านเทคนิคการออกแบบเยาวชนได้ข้อคิดและตระหนักถึง ปัญหาเกี่ยวกับคนพิการทางการได้ยินอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด ซึ่งจากแบบประเมินนี้มีส่วนช่วยให้ผู้วิจัยได้รับทราบถึงความคิดเห็นและแง่คิดใหม่ ๆ เพื่อพัฒนางานออกแบบต่อไปen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectภาพยนตร์สองมิติ -- การออกแบบ -- วิจัยen_US
dc.subjectคนพิการ -- การสื่อสารen_US
dc.subjectจิตสำนึก -- แง่สังคมen_US
dc.subjectการสร้างจิตสำนึกen_US
dc.subjectการสร้างภาพเคลื่อนไหวในคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectความรับผิดชอบในเด็กen_US
dc.titleการออกแบบแอนิเมชัน เพื่อปลูกจิตสานึกเยาวชนให้ใส่ใจต่อคนพิการทางการได้ยินen_US
dc.title.alternativeAnimation design to raise awareness and caring for the hearing impaired peopleen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractAccording to the study of the related research, it is found that hearing-impaired people are one of the underprivileged people in society whose rights have been violated and discriminated against because of the difficulty in communicating with hearing people. With the mentioned difficulty in communicating, hearing-impaired people sometimes may be mimicked and bullied, causing mental impact and a lack of self-confidence. Therefore, this research aimed to study the information and creation process of 2D animation to create an animation titled “I Want to Be Your Friend” to cultivate awareness in youths to understand the difficulty and build motivation to share love and understanding with hearing-impaired people. The satisfaction questionnaire was applied to this research to assess the satisfaction of 30 young participants in the 2D animation trial. The result of the research found that the satisfaction of 30 young participants regarding the content and advantages of animation was at a high level. Regarding the technique design, the participants have gained significant points and awareness of the difficulties of the hearing-impaired people, and the satisfaction of the participants was at a high level. Thus, the assessment results helped the researcher acknowledge the opinions and new ideas to utilise the feedback and ideas in further animation development.en_US
dc.description.degree-nameศิลปมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineคอมพิวเตอร์อาร์ตen_US
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PRAN KHUEANKAEW.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.