Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2696
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุมามาลย์ ปานคำ | - |
dc.contributor.author | นงนภัส ชัยรักษา | - |
dc.date.accessioned | 2025-01-21T08:01:51Z | - |
dc.date.available | 2025-01-21T08:01:51Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2696 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (เทคโนโลยีสื่อสังคม)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2566 | en_US |
dc.description.abstract | ในปัจจุบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมถูกจัดให้เป็นกลไกหลักในการพัฒนา ประเทศโดยมีผู้ประกอบการรุ่นใหม่เป็นกุญแจสำคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจ งานวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบจำลองสมการโครงสร้างผู้ประกอบการสู่ความสาเร็จของธุรกิจ ออนไลน์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย เป็นการวิจัยแบบผสมผสานมุ่งเน้นการ สร้างแบบจำลองใหม่ การวิจัยเชิงคุณภาพได้ข้อมูลความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญจำนวน 21 คน จาก การวัดฉันทามติโดยใช้รัฟเซตเดลฟายแบบอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถาม ออนไลน์จากกลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบการธุรกิจออนไลน์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จำนวน 975 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ องค์ประกอบเชิงยืนยัน และสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า แบบจำลองที่พัฒนาขึ้นสอดคล้อง กับข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างดี ประกอบด้วย 8 ด้าน ได้แก่ ด้านลักษณะนิสัย ด้านทัศนคติ ด้านการ คล้อยตามกลุ่มอ้างอิง ด้านความตั้งใจ ด้านการรับรู้ความสามารถของตนเอง ด้านความคิดสร้างสรรค์ ด้านนวัตกรรม และด้านความสำเร็จของผู้ประกอบการ รวมทั้งยังพบว่าด้านความตั้งใจ ด้านความคิด สร้างสรรค์ และด้านนวัตกรรมมีอิทธิพลต่อด้านความสาเร็จของผู้ประกอบการ ตามลำดับ ดังนั้น ผู้ประกอบการควรสร้างความตั้งใจในการเป็นผู้ประกอบการที่ประสบความสาเร็จ สร้างสินค้าที่มี จุดเด่นแตกต่างจากผู้อื่น และนำนวตักรรมมาปรับใช้ในการทำธุรกิจให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ นอกจากนี้หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยังสามารถ ใช้แบบจำลองนี้ในการจัดทำหลักสูตรเพื่อสร้างให้ผู้ประกอบการธุรกิจออนไลน์ประสบความสาเร็จ ในการทำธุรกิจ ส่งเสริมการสร้างรายได้ให้กับธุรกิจของตนเองและเศษฐกิจของประเทศ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ผู้ประกอบการ -- การใช้สารสนเทศ. | en_US |
dc.subject | วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) | en_US |
dc.subject | ธุรกิจออนไลน์. | en_US |
dc.subject | ความคิดสร้างสรรค์. | en_US |
dc.title | การพัฒนาแบบจำลองสมการโครงสร้างผู้ประกอบการสู่ความสำเร็จของธุรกิจออนไลน์ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | A development of structural equation model for entrepreneurs to success of online businesses, small and medium enterprises in Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | At present, small and medium-sized enterprises are classified as the main mechanism for national development, with young entrepreneurs as the key to driving business. The purpose of this research was to develop an entrepreneurial equation model for online business success for small and medium enterprises in Thailand. It is mixed-methods research focusing on creating new models. Qualitative research drew on the opinions of 21 experts from consensus measurements using the e-Rough Set Delphi Technique. The quantitative research used online questionnaires from a sample of 975 entrepreneurs from small and medium enterprises. Quantitative data were analyzed by descriptive and inferential statistics, including confirmatory factor analysis and structural equations. The results showed that the developed model is well aligned with the empirical data, consisting of 8 aspects as follows: traits, attitude, subjective norm, intention, creativity, self-efficacy, innovation, and entrepreneur success. It was found that intention, creativity, and innovation influence the success of entrepreneurs, respectively. Therefore, entrepreneurs should create the intention of being successful entrepreneurs, create unique products that are different from others, and use innovation in doing business to always be up-to-date. In addition, the government and private sectors related to small and medium enterprises can also use this model to create a curriculum for online entrepreneurs to succeed in doing business and promote income generation for their businesses and the country's economy. | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | เทคโนโลยีสื่อสังคม | en_US |
Appears in Collections: | ICT-SMT-D-Thesit |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NONGNAPAS CHAIRAKSA.pdf | 3.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.