Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2699
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุมามาลย์ ปานคำ-
dc.contributor.authorณัฐพงษ์ รอบคอบ-
dc.date.accessioned2025-01-21T08:09:43Z-
dc.date.available2025-01-21T08:09:43Z-
dc.date.issued2567-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2699-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (เทคโนโลยีสื่อสังคม)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2566en_US
dc.description.abstractเทคโนโลยีเกี่ยวกับธุรกิจการเงินมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะระบบการเงินที่ไร้ตัวกลางซึ่งทั่วโลกตื่นตัวเกี่ยวกับเรื่องสกุลเงินดิจิทัลการซื้อขายแลกเปลี่ยนอย่างอิสระทั่วโลกเกิดขึ้นทันทีและได้รับความนิยมในเวลาอันรวดเร็วและเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงโลกการเงินยุคใหม่แต่ประเทศไทยยังไม่มีการศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจัง ทำให้การวิจัยครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ ดังนั้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาแบบจำลองสมการโครงสร้าง ความตั้งใจซื้อสกุลเงินดิจิทัลในประเทศไทย ซึ่งเป็นการวิจัยแบบผสมผสานที่มีการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลทั้งแบบคุณภาพและปริมาณ คือ วิจัยเชิงคุณภาพ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ 21 ท่าน โดยแบ่งเป็นแบบสอบถามออนไลน์ปลายเปิดและแบบสอบถามมาตรประมาณค่า 7 ระดับ จำนวน 3 รอบ และนำผลลัพธ์ที่ได้มาทำการวิเคราะห์ฉันทามติโดยใช้เทคนิครัฟเซตเดลฟายแบบอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามออนไลน์โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรเกี่ยวข้องกับสกุลเงินดิจิทัลในประเทศไทย รวมจานวน 901 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย การวิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุเพื่อหาเส้นทางอิทธิพลเชิงสาเหตุของตัวแปรประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) สื่อโซเชียลมีเดีย 2) ทัศนคติ 3) ความรู้ทางการเงิน 4) ความง่ายในการใช้งาน 5) การรับรู้ประโยชน์ 6) ความเสี่ยง 7) ความมั่นใจ และ 8) ความตั้งใจซื้อสกุลเงินดิจิทัล ผลการวิจัย พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างดี โดยงานวิจัยนี้ค้นพบพฤติกรรมความตั้งใจซื้อสกุลเงินดิจิทัล โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด คือ ความรู้ทางการเงิน ความเสี่ยง ทัศนคติ ความง่ายในการใช้งาน ตามลำดับ ดังนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งด้านนโยบายและธุรกิจที่เกี่ยวกับสกุลเงินดิจิทัลควรคำนึงถึงการให้ความรู้ด้านการเงินเป็นอันดับแรกเพื่อความสาเร็จen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectแบบจำลองสมการโครงสร้าง.en_US
dc.subjectเงินดิจิทัลen_US
dc.subjectการเงิน -- การจัดการ -- ไทยen_US
dc.subjectสินทรัพย์ดิจิทัลen_US
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองสมการโครงสร้างความตั้งใจซื้อสกุลเงินดิจิทัลในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeA development structural equation model for purchase intention of digital currency in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractTechnology related to the financial business had been rapidly changing, especially decentralized financial systems, which sparked global interest in digital currency trading and exchange. This phenomenon emerged suddenly and gained popularity rapidly, serving as the starting point for global transformation. However, Thailand had not seriously studied this new era of finance. Therefore, this research aimed to be beneficial to the nation by developing a structural equation model to understand the intention to purchase digital currencies in Thailand. This mixed-method research collected and analyzed both qualitative and quantitative data. Qualitative research involved data collection from 21experts through open-ended online surveys and semi-structured interviews in 3 rounds. Quantitative research employed online questionnaires and gathered data from 901 individuals associated with digital currencies in Thailand, using simple random sampling. The model analysis aimed to examine a causal relationship model to identify causal influence pathways of variables comprising eight components, including: 1) social media, 2) attitudes, 3) financial knowledge, 4) usability, 5) perceived benefits, 6) risk perception, 7) confidence, and 8) digital currency purchase intention. The research findings indicated that the model aligns well with empirical data. This research uncovered the purchase intention behavior for digital currencies, with the most significant factors being financial literacy, risk perception, attitudes, and usability, in that order. Therefore, stakeholders in digital currency-related policies and businesses should prioritize financial education for success.en_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineเทคโนโลยีสื่อสังคมen_US
Appears in Collections:ICT-SMT-D-Thesit

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NATTAPONG ROBKOB.pdf3.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.