Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2704
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สัญญพงศ์ ลิ่มประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | วรุณรักษ์ ชินเนหันหา | - |
dc.date.accessioned | 2025-01-22T01:43:03Z | - |
dc.date.available | 2025-01-22T01:43:03Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2704 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (นิติศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2566 | en_US |
dc.description.abstract | ปัจจุบันผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเป็นที่นิยมอย่างมาก มีช่องทางการขายที่หลากหลาย เช่น การโฆษณาขายผ่านช่องทางออนไลน์ การติดป้ายประกาศ หลักเกณฑ์การโฆษณานั้นได้มีการ กำหนดในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 มาตรา 40 ว่า “ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรือสรรพคุณของอาหารอันเป็นเท็จ หรือเป็นการหลอกลวงให้เกิดความหลงเชื่อโดยไม่ สมควร” ซึ่งหากมีการฝ่าฝืนบทบัญญัติดังกล่าวจะต้องได้รับโทษตามมาตรา 70 คือต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ อย่างไรก็ดีมาตรา 40 การควบคุมการโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารยังขาดความรัดกุมที่จะนำมาใช้ในการควบคุมพฤติกรรมของผู้ประกอบธุรกิจที่มีการลักลอบนำผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่เป็นอันตรายมาโฆษณาหลอกลวงขายให้แก่ผู้บริโภครวมทั้งไม่ได้ให้ความคุ้มครองความปลอดภัยทำให้ผู้บริโภคได้รับอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารดังกล่าวเป็นจาำนวนมาก ปัญหาที่สำคัญยิ่งกว่านั้นคือบทลงโทษ ปัจจุบันนี้เศรษฐกิจ ฐานะทางการเงินมีการเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งบทบัญญัติตามมาตรา 70 พบว่าโทษปรับยังไม่สามารถที่จะทำให้ผู้กระทำความผิดเกิดความเข็ดหลาบหรือเกรงกลัวต่อกฎหมาย วิทยานิพนธ์นี้เสนอว่าประเทศไทยควรปรับปรุงในส่วนของมาตรา 40 ให้มีความครอบคลุม ชัดเจน และเพิ่มโทษปรับในมาตรา 70 ให้หนักขึ้นโดยปรับปรุงแก้ไขใหม่เป็นให้ผู้กระทำการโฆษณาอาหารโดยฝ่าฝืนมาตรา 40 “ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 250,000 บาท สำหรับความผิดครั้งแรก และ 500,000 บาท สาหรับการกระทำผิดครั้งต่อไป” โดยนำหลักเกณฑ์การกำหนดบทลงโทษของประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น แคนาดามาปรับใช้ เพื่อให้สอดคล้องกับประเภทธุรกิจและรายได้ของผู้กระทำความผิด | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | บทบัญญัติ | en_US |
dc.subject | พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522. | en_US |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร. | en_US |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 | en_US |
dc.title.alternative | Legal measures to control for dietary supplement products advertising according food act b.e. 2522 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | Currently, dietary supplements are very prevalent. There are numerous sales channels available, including online advertising. The Food Act, BE 2522, Section 40, specifies the criteria for this advertisement's placards: "No person shall advertise the benefits, qualities, or properties of food that are false or deceptive to cause unreasonable misunderstanding." Any violation of these provisions is punishable by imprisonment for a term not exceeding three years or a fine not exceeding thirty thousand baht, or both, under Section 70. However, Section 40 or the control of food supplement advertising, needs to be more stringent to regulate the conduct of business operators who conceal hazardous food supplements to deceive advertisements for sale to consumers, including failing to provide safety protection. This action exposes consumers to numerous risks associated with consuming these dietary supplements. The more significant issue is how the economy and financial situation have altered the penalties. The provisions of section 70 determined that the fine was unable to induce recklessness or fear of the law in the offender. This thesis proposes that Thailand amend Section 40 to be more comprehensive and explicit and increase Section 70's fines to be more severe. The revision is that those who advertise food violating Section 40 shall be liable to a fine of not more than 250,000 baht for the first offense and 500,000 baht for the subsequent offense y making the criteria for determining punishments in nations like the United States, Japan, and Canada consistent with the offender's type of business and income. | en_US |
dc.description.degree-name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | Law-Law-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
WARUNRAK CHINNEHANHA.pdf | 884.81 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.