Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2713
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไกรชิต สุตะเมือง | - |
dc.contributor.author | ศักดิ์ดา กรรณนุช | - |
dc.date.accessioned | 2025-01-22T03:39:24Z | - |
dc.date.available | 2025-01-22T03:39:24Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2713 | - |
dc.description | รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต แขนงวิชาการตลาดคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแตกต่างกันของลักษณะประชากรศาสตร์ ที่ มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานในระดับปฏิบัติการของธุรกิจอัญมณี ในเขตกรุงเทพมหานคร และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านหน้าที่การงานที่รับผิดชอบ และปัจจัย ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานและผลตอบแทน ที่มีกับแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานในระดับปฏิบัติการของธุรกิจอัญมณีในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นกลุ่มพนักงานในระดับปฏิบัติการของธุรกิจอัญมณีที่ตั้งอยู่ในเขตบางรักของกรุงเทพมหานคร รวม 50 แห่ง คิดเป็น 400 ตัวอย่างในระหว่างเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน 2555 ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 20-29 ปี มีสถานภาพโสด มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า (ม.6/ ปวช.) มีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 10,001 - 15,000 บาท และมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานหรือประสบการณ์การทำงานระหว่าง 1-2 ปี โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยด้านหน้าที่การงานที่รับผิดชอบ ซึ่งให้ความสำคัญ มากที่สุดกับปัจจัยด้านต่างๆ ได้แก่ งานมีระบบการประเมินและแจ้งผลการปฏิบัติ ในด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานและผลตอบแทน โดยให้ความสำคัญมากที่สุดกับปัจจัยด้านต่างๆได้แก่ การได้รับความช่วยเหลือเกื้อกูลจากเพื่อนร่วมงาน ทั้งนี้ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับแรงจูงใจในการทำงาน ซึ่งให้ความสำคัญมากที่สุดกับปัจจัยด้านหน้าที่การงานที่รับผิดชอบ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ทุกปัจจัยด้านลักษณะประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน ไม่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานในระดับปฏิบัติการของธุรกิจอัญมณี ในเขตกรุงเทพมหานครแตกต่างกัน ปัจจัยด้านหน้าที่การงานที่รับผิดชอบและปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน/ผลตอบแทนส่วนใหญ่มี และไม่มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานในระดับปฏิบัติการของธุรกิจอัญมณีในเขตกรุงเทพมหานครอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตามลำดับ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | พนักงานบริษัท | en_US |
dc.subject | ความพอใจในการทำงาน | en_US |
dc.title | แรงจูงใจในการทำงานของพนักงานในระดับปฏิบัติการ กรณีศึกษาธุรกิจอัญมณีในเขตกรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.title.alternative | Working motivation of employees in operational level : a case study of gems business in Bangkok | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.degree-name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต แขนงวิชาการตลาด | en_US |
Appears in Collections: | BA-MM-M-IDP |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SAKDA KANNUCH.pdf | 70.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.