Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2723
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกฤษฎา แสงเจริญทรัพย์-
dc.contributor.authorเสาวนีย์ กรทองสกล-
dc.date.accessioned2025-01-29T05:22:30Z-
dc.date.available2025-01-29T05:22:30Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2723-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (นิติศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2566en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประวัติความเป็นมา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหลักกฎหมายว่าด้วยการบังคับโทษ กรณีศึกษาสิทธิในการจัดการทรัพย์สิน รายได้ และค่าตอบแทนของผู้ต้องขังประเภทนักโทษเด็ดขาด 2) ศึกษาวิเคราะห์ถึงปัญหาเกี่ยวกับการบังคับโทษ กรณีศึกษาสิทธิในการจัดการทรัพย์สิน รายได้ และค่าตอบแทนของผู้ต้องขังประเภทนักโทษเด็ดขาด 3) เปรียบเทียบมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิในการจัดการทรัพย์สิน รายได้ และค่าตอบแทนของผู้ต้องขังประเภทนักโทษเด็ดขาด ระหว่างกฎหมายไทยและต่างประเทศ และ 4) เป็นแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิในการจัดการทรัพย์สิน รายได้ และค่าตอบแทนของผู้ต้องขังประเภทนักโทษเด็ดขาด เป็นกระบวนวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการศึกษาเชิงจากเอกสาร เกี่ยวกับสิทธิในการจัดการทรัพย์สิน รายได้ และค่าตอบแทนของผู้ต้องขังประเภทนักโทษเด็ดขาด จากผลการศึกษาพบว่า หลักกฎหมายว่าด้วยการบังคับโทษของไทยยังคงมีปัญหาในด้านการคุ้มครองสิทธิเกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้ต้องขังที่ตกค้างอยู่ในเรือนจำและตกเป็นของแผ่นดิน ปัญหาการคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องขังในการใช้เงินในระหว่างต้องโทษในเรือนจำ และปัญหาการคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องขังในการทำงานสาธารณะ ดังนั้นจึงสมควรแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560 ในมาตรา 63 ตามสาธารณรัฐฟินแลนด์มาปรับใช้ในการคืนทรัพย์สินเมื่อผู้ต้องขังถูกปล่อยตัวของเรือนจำในประเทศไทย ส่วนปัญหาการใช้เงินควรนำมาตรการการใช้เงินในเรือนจำของสาธารณะรัฐฟินแลนด์มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของเรือนจำในประเทศไทย และควรจ่ายค่าตอบแทนการทำงาน ซึ่งอาจจะพิจารณาเป็นรายชั่วโมง หรือเหมาจ่าย หรือการเหมาจ้างแบบกลุ่มหรือเฉพาะรายที่จะได้รับค่าตอบแทนโดยการประมาณเป็นอย่างเดียวกันอย่างคนงานแรงงานทั่วไป และต้องดำเนินการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับข้อกาหนดมาตรฐานขั้นต่ำสาหรับการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง รวมทั้งให้ทัดเทียมกับนานาอารยประเทศen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectนักโทษ -- สถานภาพทางกฎหมาย -- ไทยen_US
dc.subjectทรัพย์สิน -- การจัดการen_US
dc.subjectผู้ต้องขัง -- การดำเนินชีวิตen_US
dc.titleหลักกฎหมายว่าด้วยการบังคับโทษ กรณีศึกษาสิทธิในการจัดการทรัพย์สิน รายได้ และค่าตอบแทนของผู้ต้องขังประเภทนักโทษเด็ดขาดen_US
dc.title.alternativePenalty law: a case study of absolute prisoners right to the administration of the property wages and remunerationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed to: 1) review the history, concepts, theories, and research studies related to penalty enforcement law with an emphasis on rights to manage properties and incomes for prisoners, 2) conduct a comparative study on rights to manage properties and incomes for prisoners between Thai and international laws, 3) analyze problems of penalty enforcement and 4) propose guidelines for the improvement of laws related to rights to manage properties and incomes for prisoners. This research employed qualitative methodology. Data were collected through documentary research in which concepts, laws, and regulations related to rights to manage properties and incomes for prisoners were reviewed. The results revealed that the penalty enforcement law was problematic since prisoners’ rights over their properties were not protected; remaining pays incurred during their prison terms were not paid to the owner if he had been released. In addition, problems of the protection of their rights to spend money during their prison term and their public work rights were found. The research recommended an amendment in section 63 of the Correction Act B.E.2560 (2017) in consistence with that enacted in Finland allowing prisoners to receive their properties after their prison term. The research also recommended the implementation of flat or hourly rate pay or performance-based pay in Thai prisons to pay wages to prisoners. This measure is implemented in Finland. Finally, legal amendments in terms of minimum requirements for inmates should be conducted to meet international standards.en_US
dc.description.degree-nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineนิติศาสตร์en_US
Appears in Collections:Law-Law-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SAOWANEE KORNTHONGSAKOL.pdf921.16 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.