Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/273
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กฤษฎา มูฮัมหมัด | - |
dc.contributor.author | ณัฐวุฒิ ชมทอง | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-14T06:33:18Z | - |
dc.date.available | 2022-01-14T06:33:18Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/273 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริการธุรกิจ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความแตกต่างของลักษณะส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการปฏิบัติงานของพนักงานภาคอุตสาหกรรม ในเขตจังหวัดปทุมธานี 2) แรงจูงใจที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการปฏิบัติงานของพนักงานภาคอุตสาหกรรม ในเขตจังหวัดปทุมธานี และ 3) ความพึงพอใจในการทางานที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการปฏิบัติงานที่ดีของพนักงานภาคอุตสาหกรรม ในเขตจังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ พนักงานภาคอุตสาหกรรม ในเขตจังหวัดปทุมธานี เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้วิธีการสุ่มแบบตามความสะดวก (Convenience Sampling) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจานวน 400 คน วิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนาโดยใช้ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่มีความเป็นอิสระต่อกัน (Independent Sample : t-Test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way analysis of Variance : F-Test) การทดสอบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Correlation Coefficient) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 21-30 ปี มีระดับการศึกษาอนุปริญญา/ปวส. มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001-20,000 บาท มีสถานภาพโสด และมีระยะเวลาในการทางาน 1-5 ปี ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า 1) อายุ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และระยะเวลาในการทางานที่แตกต่างกันส่งผลต่อพฤติกรรมในการปฏิบัติงานที่ดีของพนักงานภาคอุตสาหกรรมแตกต่างกัน 2) แรงจูงใจที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการปฏิบัติงานที่ดีของพนักงานภาคอุตสาหกรรม ในเขตจังหวัดปทุมธานี ได้แก่ ด้านความต้องการความก้าวหน้า ( = 0.332) รองลงมา คือ ด้านความ ต้องการในการดารงอยู่ ( = 0.169) และน้อยที่สุด คือ ด้านความต้องการความสัมพันธ์ ( = 0.123) ตามลาดับ มีอานาจในการพยากรณ์ร้อยละ 25.90 (Adj. = 0.259) 3) ความพึงพอใจในการทางานที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการปฏิบัติงานที่ดีของพนักงานภาคอุตสาหกรรม ในเขตจังหวัดปทุมธานี ได้แก่ ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ( = 0.222) รองลงมา คือ ด้านนโยบายการบริหารงาน ( = 0.176) และน้อยที่สุด คือ ด้านสภาพแวดล้อมในการทางาน ( = 0.138) ตามลาดับ มีอานาจในการพยากรณ์ร้อยละ 17.50 (Adj. = 0.175) | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ความพึงพอใจในการทำงาน | en_US |
dc.subject | ความพึงพอใจในการปฎิบัติงาน | en_US |
dc.subject | แรงจูงใจในการทำงาน | en_US |
dc.subject | ความผูกพันต่อองค์การ | en_US |
dc.title | แรงจูงใจ และความพึงพอใจในการทำงาน ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการปฏิบัติงานที่ดีของพนักงานภาคอุตสาหกรรม ในเขตจังหวัดปทุมธานี | en_US |
dc.title.alternative | Motivation and job satisfaction that influencing the good working behaviors of industrial employee in Pathum Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objective of the study were 1) The difference of demographic that influencing the good working behaviors of industrial employee in Pathum Thani province. 2) The difference of motivation that influencing the good working behaviors of industrial employee in Pathum Thani province. 3) The difference of job satisfaction that influencing the good working behaviors of industrial employee in Pathum Thani province. The research sample was selected from industrial employee in Pathum Thani province. The quantitative research, using convenience sampling with the questionnaire was used as a tool to collected 400 samples. Descriptive statistics analysis were frequency, percentage, mean and standard deviation and inferential statistics analysis with Independent Sample (t-Test), One-way analysis of Variance (F-Test), Pearson correlation coefficient and Multiple regression analysis. The results of the study were most of the respondents is female, age between 21 to 30 years old, the education level is diploma/high vocational certificate, an income between 10,001 to 20,000 THB/month, marital status is single and working experience between 1 to 5 years. The results of testing hypothesis found that: 1) The employee who were different of age, education level, income/month and working experience that influencing the good working behaviors of industrial employee in Pathum Thani province. 2) The motivation that influencing the working good behaviors of industrial employee in Pathum Thani province as growth needs ( = 0.332), existence needs ( = 0.169) and relatedness needs ( = 0.123). The power of predict is 25.90 percentage (Adj. = 0.259) 3) The job satisfaction that influencing the good working behaviors of industrial employee in Pathum Thani province as recognition ( = 0.222), management policy ( = 0.176) and working environment ( = 0.138). The power of predict is 17.50 percentage (Adj. = 0.175) | en_US |
dc.description.degree-name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | บริหารธุรกิจ | en_US |
Appears in Collections: | BA-BA-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nattawut Chomthong.pdf | 4.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.