Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2745
Title: | รายงานวิจัยฉบับสบูรณ์ โครงการวิจัย การพัฒนาอุปกรณ์ควบคุมคุณภาพระบบเลเซอร์ภายในห้องฉายรังสี |
Other Titles: | Development of a laser QA tool for Laser system in a Linear accelerator room |
Authors: | กฤษณะ อุทาพรม ธนพัฒน์ ช่องสาร ศิวพล หมันสิงห์ |
Keywords: | รังสี -- การวัด -- เครื่องมือเเละอุปกรณ์ -- วิจัย;การรักษาด้วยรังสี -- การป้องกันและควบคุม;รังสี -- มาตรการความปลอดภัย |
Issue Date: | 2565 |
Publisher: | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | รายงานวิจัยเรื่องพัฒนาอุปกรณ์ควบคุมคุณภาพระบบเลเซอร์เพื่อการจัดตําแหน่งของผู้ป่วยสําหรับเครื่องเร่งอนุภาคทางการแพทย์ เป็นการพัฒนาให้อุปกรณ์ดังกล่าวสามารถจัดตําแหน่งได้ง่ายขึ้นและลดเวลาในการทํางานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพเครื่องเร่งอนุภาคทางการแพทย์ การออกแบบอุปกรณ์ควบคุมคุณภาพเลเซอร์ภายในห้องฉายรังสีถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ฐานที่สามารถปรับสมดุลได้และส่วนทดสอบ การสร้างชิ้นงานผลิตขึ้นโดยใช้การพิมพ์สามมิติด้วยเส้น พลาสติกชนิด PLA และ ABS จากนั้นทดสอบคุณสมบัติเบื้องต้น ได้แก่ ความถูกต้องของการพิมพ์สาม มิติและความสามารถในการชดเชยพื้นเอียง และทดสอบคุณสมบัติในการใช้งาน ได้แก่ความสามารถ ในการจัดตําแหน่ง ความถูกต้องในการจัดตําแหน่งและวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการทํางานจาก เวลาที่ใช้ในการจําตําแหน่งอุปกรณ์ พบว่าอุปกรณ์ควบคุมคุณภาพระบบเลเซอร์ที่พัฒนาในงานวิจัยนี้ มีความสามารถชดเชยพื้นเอียงได้อย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ โดยสามารถชดเชยความเอียงของ อุปกรณ์ที่เกิดจากการวางบนพื้นลาดเอียง 2 องศา ให้เหลือความลาดเอียงน้อยกว่า 0.001 5 องศา มี ความสามารถในการจัดตําแหน่ง โดยมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานน้อยกว่า 0.3 ในทุก ๆ แนวการ เคลื่อนที่ มีความถูกต้องในการจัดตําแหน่งไปยังจุดหมุนร่วมของเครื่องเร่งอนุภาคโดยมีความ คลาดเคลื่อนน้อยกว่า 0.5 มิลลิเมตร และใช้เวลาในการจัดตําแหน่ง(ประสิทธิภาพ) โดยเฉลี่ยประมาณ 41.23 วินาที อุปกรณ์ควบคุมคุณภาพเลเซอร์ภายในห้องฉายรังสีที่พัฒนาในงานวิจัยนี้ สามารถชดเชยพื้น เอียงได้อย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติและมีประสิทธิภาพในการใช้งาน ขณะที่ยังมีระดับความถูกต้องใน การจัดตําแหน่งและความสามารถในการทําซ้ำอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ |
metadata.dc.description.other-abstract: | The aim of this research was to develop laser QA tools for a linear accelerator. Easily set up and reducing QA time consumed but still have acceptable accuracy and reproducibility were goals of this research. Developed laser QA tools designed were divided into 2 components as balancing bases and testing parts. Then they were printed as 3D objects by 3D printing with PLA and ABS filaments. Their size was measured. Slop compensation, set up accuracy, reproducibility, and efficiency were evaluated through CBCT by using Elekta versa HD linear accelerator with Hexapod 6D couch. Developed laser QA tools were non-significantly slop compensable however they were able to reduce testing part rotation set up on 2 degrees of couch slop to less than 0.0015 degrees. They were set up reproducibility with 0.3 of S.D. for all directions and highly set up accuracy with error less than 0.5 mm. while set up time consumed was 41.23 seconds, approximately. Developed laser QA tools were set up time consume efficiently. however, its slope compensable hasn't succeeded significantly. While accuracy and reproducibility were acceptable |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2745 |
metadata.dc.type: | Other |
Appears in Collections: | RdT-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KRITSANA UTAPOM.pdf | 1.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.