Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/340
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณกมล จันทร์สม-
dc.contributor.authorสุรัสสา สรวยสุวรรณ-
dc.date.accessioned2022-01-19T05:02:53Z-
dc.date.available2022-01-19T05:02:53Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/340-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กจ.ม. (การเป็นผู้ประกอบการ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคล ที่มีผลต่อภาวะหนี้สินของนายทหารประทวน สังกัดศูนย์รักษาความปลอดภัย 2) เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ที่มีผลต่อภาวะหนี้สินของนายทหารประทวน สังกัดศูนย์รักษา ความปลอดภัย 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการบริโภค ที่มีผลต่อภาวะหนี้สิน ของนายทหารประทวน สังกัดศูนย์รักษาความปลอดภัย จำนวน 303 คน โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การใช้สถิติเชิงพรรณนา การหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ t-TEST, F-TEST และ Multiple Regression Analysis เมื่อทดสอบสมมติฐานพบว่าปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ อายุรับราชการ ที่อยู่อาศัย เงินเดือน และรายได้คู่สมรส มีผลต่อภาวะหนี้สินของนายทหารประทวน สังกัดศูนย์รักษาความปลอดภัย การพยากรณ์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเศรษฐกิจที่มีผลต่อภาวะหนี้สิน พบว่าปัจจัยเศรษฐกิจ ด้านประเภทหนี้สิน มีผลต่อภาวะหนี้สินของนายทหารประทวน สังกัดศูนย์รักษาความปลอดภัย การพยากรณ์ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภค พบว่าพฤติกรรมการบริโภค ด้านประเภท การอุปโภคบริโภค และการตัดสินใจกู้เงิน มีผลต่อภาวะหนี้สินของนายทหารประทวน สังกัดศูนย์รักษาความปลอดภัย อย่างมีนัยทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectหนี้สินบุคคลen_US
dc.subjectนายทหารชั้นประทวน -- หนี้สิน (การเงินส่วนบุคคล) -- วิจัยen_US
dc.subjectหนี้สินen_US
dc.titleภาวะหนี้สินของนายทหารประทวน สังกัดศูนย์รักษาความปลอดภัยกองบัญชาการกองทัพไทยen_US
dc.title.alternativeDebt status : a case study of non-commissioned officers in Armed Forces Security Center, Royal Thai Armed Forces Headquartersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this study were 1) to study the differences of personal factors affecting the debt status of non-commissioned officers (NCO) in Armed Forces Security Center (AFSC), Royal Thai Armed Forces Headquarters (RTARF) 2) to study the relationship of economic factors affecting the debt status of NCO in AFSC, RTARF, and 3) to study the relationship of consumer behaviors of debt status of NCO in AFSC, RTARF. The research samples were 303 respondents. The questionnaire was used as the tool of data collection. The data were analyzed using descriptive statistics which are frequency, percentage, mean and standard deviation and inferential statistics such as t-test, F-test and Multiple Regression Analysis. The hypotheses showed that personal factors such as age, years of working, rank, living area, salary and spouse's income affecting the debt status of NCO in AFSC, RTARF. In predicting the relationship between economic factors affecting the debt status of NCO in AFSC, RTARF. The results revealed that the types of debt affected the debt status of NCO AFSC, RTARF. According to the prediction of the relationship of consumer behaviors affecting the debt status of NCO in AFSC, RTARF, it was found that consumption category and loan decisions affected the debt status of non-commissioned officers in AFSC, RTARF with the statistical significance level of 0.05en_US
dc.description.degree-nameการจัดการมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการเป็นผู้ประกอบการen_US
Appears in Collections:BA-MM-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
First Lieutenant Surussa Suaysuwan.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.