Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/365
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉลองรัฐ เฌอมาลย์ชลมารค-
dc.contributor.authorเพ็ญนภา ศรีบรรจง-
dc.date.accessioned2022-01-20T06:23:31Z-
dc.date.available2022-01-20T06:23:31Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/365-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม (นิเทศศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง “การดัดแปลงนวนิยายเรื่อง เพลิงบุญ สู่ละครโทรทัศน์” มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการดัดแปลงนวนิยายเรื่องเพลิงบุญสู่ละครโทรทัศน์ และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการดัดแปลง นวนิยายเรื่องเพลิงบุญสู่ละครโทรทัศน์ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2560 งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์ตัวบท (Textual Analysis) การวิเคราะห์ เอกสาร (Document Analysis) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผลการวิจัยพบว่า การ ดัดแปลงนวนิยายเรื่องเพลิงบุญสู่ละครโทรทัศน์มีกลวิธีที่สำคัญ คือ การปรับเปลี่ยนตัวเรื่อง (Story) การปรับเปลี่ยนองค์ประกอบของนวนิยาย (Novel Element) และ การปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนาเรื่อง (Plot Development) ปัจจัยที่มีผลต่อการดัดแปลงนวนิยายเรื่องเพลิงบุญสู่ละครโทรทัศน์ประกอบด้วย ปัจจัยด้านยุคสมัย (Period) ปัจจัยด้านเนื้อเรื่อง (Story) ปัจจัยด้านผู้ชมละครโทรทัศน์ (Audience) ปัจจัยด้านความยาวสื่อ (Duration) และปัจจัยด้านผู้ผลิตหรือผู้สร้างสรรค์ (Producer/Creator)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectบทละครโทรทัศน์ -- การเขียนen_US
dc.subjectนวนิยายไทยen_US
dc.subjectละครโทรทัศน์ -- ไทยen_US
dc.subjectเพลิงบุญ -- บทละครen_US
dc.titleการดัดแปลงนวนิยายเรื่อง เพลิงบุญ สู่ละครโทรทัศน์en_US
dc.title.alternativeAdaptation of the novel, Ploeng Bun, to a tv drama seriesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed to investigate the adaptation of a novel, Ploeng Bun, to a TV drama series and factors affecting the adaptation. The research analyzed the novel, Ploeng Bun, and the TV drama series, Ploeng Bun, broadcast on Channel 3 in 2017. The research employed qualitative methods including textual analysis, document analysis, and in-depth interviews. The result revealed that the adaptation of the novel to a TV drama series included three key strategies: the adaptation of the story, the adaptation of novel elements, and the adaptation of plot development. Factors affecting the adaptation were story, audience, media duration, and producer/creatoren_US
dc.description.degree-nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineนิเทศศาสตร์en_US
Appears in Collections:CA-CA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pennapa Sribanjong.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.