Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/366
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกฤษณ์ ทองเลิศ-
dc.contributor.authorพระอธิการอานนท์ อตฺถยุตฺโต, สมศักดิ์-
dc.date.accessioned2022-01-20T06:29:27Z-
dc.date.available2022-01-20T06:29:27Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/366-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด (นิเทศศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี ้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เข้าใจถึงการใช้โวหารภาพพจน์เพื่อการสื่อสารธรรม ของสวนโมกขพลาราม จังหวัดสุราษฎร์ธานี และเพื่อให้เข้าใจถึงปัจจัยความสำเร็จของการสื่อสาร หลักธรรมของพระวิทยากรสวนโมกขพลาราม แนวคิดและทฤษฎีที่นำมาใช้เป็นแนวทางในการเข้า สู่ปัญหานำวิจัยได้แก่ แนวคิดการสื่อสารธรรม แนวคิดโวหารภาพพจน์ แนวคิดแบบจำลองการ สื่อสารของเบอร์โล ทฤษฎีการเรียนรู้ และแนวทางการศึกษาเชิงสัญญาณศาสตร์ การวิจัยครั้งนี ้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์ภาพจิตรกรรม แยกตามปณิธาน 3 ประการของท่าน พุทธทาสภิกขุ การวิจัยนีท้ ำการวิเคราะห์ภาพจิตรกรรมของสวนโมกขพลาราม จำนวน 19 ภาพ และสัมภาษณ์พระวิทยากรที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยความ สำเร็จของการสื่อสารหลักธรรมของพระ วิทยากรสวนโมกขพลาราม ผลการวิจัยมีดังนี ้1) โวหารภาพพจน์เพื่อการสื่อสารธรรมผ่านงานภาพ จิตรกรรม ประกอบด้วยกลวิธีทางภาพและภาษาดังนี ้ก) อุปมา ข) อุปลักษณ์ ค) สัมพจนามัย ง) อติพจน์ จ) บุคลาธิษฐาน ฉ) สัญลักษณ์ ช) ปริทรรศน์ ซ) คำถามชวนคิดหรือปฏิปุจฉา ฌ) การอ้าง ถึง ญ) อุปมานิทัศน์ และ ฎ) การแฝงนัย 2) ปัจจัยความสำเร็จของการสื่อสารหลักธรรมของพระ วิทยากรมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ด้าน ดังนี ้ (1) คุณลักษณะของพระวิทยากร ประกอบด้วย ก) มี ความมั่นใจในลีลาแบบฉบับเป็นของตัวเอง ข) เป็ นคนช่างสังเกต ค) เป็ นผู้มีไหวพริบปฏิภาณใน การแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้า ง) มีการวางแผนที่ดี จ) มีความ คิดสร้างสรรค์ ฉ) มีบุคลิกภาพและ มนุษยสัมพันธ์ดี ช) เป็นกัลยาณมิตรที่ดี ซ) มีความจริงใจในการถ่ายทอดความรู้ (2) การกำหนด แนวเนือ้ หา ประกอบด้วย ก) การจัดการศึกษาเรียนรู้ตามปัญหาที่จุดเริ่มต้นจากผู้เรียน ข) การ จัดการศึกษาเรียนรู้ในรูปแบบที่ค้นพบ ค) การจัดการศึกษาตามความคาดหวังของผู้เรียน และ ง) การจัดการศึกษาเรียนรู้ในรูปแบบธรรมชาติ และ (3) เทคนิคการสอน ประกอบด้วย ก) ต้อง ถ่ายทอดเป็น ข) มีเทคนิคต่างๆ ในการอบรม ค) มุ่งประโยชน์ต่อผู้รับฟังและผู้เข้ารับการอบรมเป็น สำคัญ และ ง) สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้เพื่อการขัดเกลาen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectสวนโมกขพลาราม -- สุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectการสื่อสาร -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนาen_US
dc.subjectภาพพจน์en_US
dc.subjectธรรมะ -- คำสอนen_US
dc.titleโวหารภาพพจน์เพื่อการสื่อสารธรรมของสวนโมกขพลาราม จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.title.alternativeFigures of speech for Dhamma communication of Suan Mokkhaphalaram in Suratthani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this research were to understand figures of speech for dhamma communication of Suanmokkhaphalaram, Suratthani Province, and to investigate the success factors of the dhamma communication of preachers from Suanmokkhaphalaram. The concepts and theories applied as the guideline of the research included the dhamma communication concept, theories of figures of speech, Berlo’s model of communication, learning theories, and semiotics. This study was conducted using qualitative methods. Data were collected through the analysis of 19 paintings based upon three commitments proposed by Buddhadãsa Bikkhu and interviews with preachers. The research results revealed that the figures of speech in dhamma communication through paintings consisted of: a) parable, b) metaphor, c) metonymy, d) hyperbole, e) personification, f) symbol, g) periscope, h) trivia quiz, i) reference, j) allegory, and l) implications. In addition, the success factors of the preachers in dhamma communication included (1) eight essential characteristics of the preachers including a) confidence in their own unique styles, b) observance, c) quick reaction towards immediate events, d) good planning, e) creativity, f) good personality and friendliness, g) friendliness, and h) sincerity in preaching; (2) the determination of preaching contents based upon a) problem-based learning, b) discovery-based learning, c) students’ expectation, and d) natural-based learning; and (3) preaching techniques including a) the ability to convey messages, b) training techniques, c) an emphasis on the benefits of the audience and participants, and d) the construction of learning motivationen_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineนิเทศศาสตร์en_US
Appears in Collections:CA-CA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phra Arnon Utthayuttoo, Somsak.pdf3.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.