Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/371
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรพงษ์ วงศ์ธีระธรณ์-
dc.contributor.authorอภิชญา สุขประเสริฐ-
dc.date.accessioned2022-01-20T06:44:49Z-
dc.date.available2022-01-20T06:44:49Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/371-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม (นิเทศศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การสื่อสารภาพลักษณ์และการมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชนริมน้ำจันทบูร จังหวัดจันทบุรี และศึกษาแนวทางการสื่อสารภาพลักษณ์และกระบวนการการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนริมน้ำจันทบูรกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่จะสามารถส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชนให้เกิดความยั่งยืน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญซึ่งเป็นกลุ่มบุคคลที่มีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับการสื่อสารภาพลักษณ์ และผู้ที่มีส่วนร่วมต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนริมน้ำจันทบูร จังหวัดจันทบุรี รวมทั้งสิ้น 9 คน และการวิเคราะห์เอกสารประกอบการนำเสนอผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า การสื่อสารภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชนริมน้ำจันทบูร จังหวัดจันทบุรี คือ การนำเสนออัตลักษณ์ที่โดดเด่นของชุมชนริมน้ำจันทบูร 5 ด้าน คือ 1) ภาพลักษณ์ด้านสถาปัตยกรรม 2) ภาพลักษณ์ด้านศิลปกรรม 3) ภาพลักษณ์ด้านศาสนา 4) ภาพลักษณ์ด้านวัฒนธรรมและประเพณี 5) ภาพลักษณ์วิถีชีวิตชุมชน ผ่านการสื่อสารแบบปากต่อ ปาก (Word-of-Mouth) ของผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชนและสื่อมวลชนผ่านช่องทางการสื่อสารที่ หลากหลายรูปแบบ ส่วนปัจจัยส่งเสริมการมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของ ชุมชนริมน้ำจันทบูรนั้นแบ่งออกเป็น 1) การมีส่วนร่วมและการสร้างเป้ าหมายของชุมชน 2) การ กำหนดนโยบายร่วมกันของกลุ่มผู้นำและคนในชุมชน 3) ระบบการจัดการเพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยวen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการส่งเสริมการท่องเที่ยวen_US
dc.subjectภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวen_US
dc.subjectการสื่อสารen_US
dc.titleการสื่อสารภาพลักษณ์และการมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนริมนํ้าจันทบูร จังหวัดจันทบุรีen_US
dc.title.alternativeImage communication and public participation in the promotion of sustainable tourism of Chanthaboon waterfront community, Chanthaburien_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed to investigate the image communication and public participation of Chanthaboon Waterfront Community, Chanthaburi, in the promotion of sustainable tourism and to explore the approaches for communicating image and public participation process of the community in collaboration with other organizations. Data were obtained through document analysis and in-depth interviews with 9 key informants whose work was related to image communication and the development of the tourism in the community. The result revealed that the image communication for tourism promotion was the presentation of five identities of the community including architecture, art, religion, culture and tradition, and local living through word of mouth spread by people in the community and a variety of communication channels. Factors of tourism promotion included public participation and the establishment of community’s goals, the determination of policy by community leaders together with community members, and systematic tourism managementen_US
dc.description.degree-nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineนิเทศศาสตร์en_US
Appears in Collections:CA-CA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Apichaya Sookprasert.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.