Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/440
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ สุขสำราญ-
dc.contributor.authorจักรกฤษณ์ ไชยรินทร์-
dc.date.accessioned2022-01-25T02:07:37Z-
dc.date.available2022-01-25T02:07:37Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/440-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทในการอนุรักษ์ฟื้นฟูจารีตประเพณีและศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ(2) ศึกษาบทบาทเชิงรุกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูจารีตประเพณีและศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิม เพื่อทำให้เกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมได้อย่างยั่งยืน โดยศึกษาการอนุรักษ์ฟื้นฟูจารีตประเพณีและศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของประเพณีผีตาโขน และประเพณีการราขึ้นปราสาทเขาพนมรุ้ง กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูลประกอบด้วยผู้นำท้องถิ่น นายกเทศมนตรี หัวหน้าวัฒนธรรมจังหวัด และผู้อำนวยการการทอ่งเที่ยวแห่งประเทศไทยเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผลการวิจัยพบว่าในการอนุรักษ์ฟื้นฟูจารีตประเพณีและศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือนั้น ภูมิปัญญาชาวบ้านที่เป็นนามธรรมและรูปธรรมจะสะท้อนออกมาใน 3 ลักษณะที่สัมพันธ์ใกล้ชิดกันคือ (1) ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด กันได้แก่ ความสัมพันธ์ระหวา่งคนกับโลก สิ่งแวดล้อม สัตว์ พืช และธรรมชาติ (2) ความสัมพันธ์กับคนอื่น ๆ ที่อยู่ร่วมกันในสังคม หรือในชุมชน ( 3) ความสัมพันธ์กับสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ์สิ่งเหนือธรรมชาติ รวมถึงสิ่งที่ไม่สามารถสัมผัสได้อื่นๆ ทั้งสามลักษณะนี้ คือ สามมิติของเรื่องเดียวกันกล่าวคือ ชีวิตของชาวบ้านสะท้อนถึงภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิตอย่างมีเอกภาพเปรียบเสมือนสามมุมของรูปสามเหลี่ยม ดังนั้น ภูมิปัญญาจึงถือเป็นรากฐานในการดำเนินชีวิตของชาวบ้านen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมen_US
dc.subjectชุมชน -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) -- ความเป็นอยู่และประเพณีen_US
dc.subjectสังคมและวัฒนธรรม -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)en_US
dc.titleการอนุรักษ์ฟื้นฟูและการจัดการจารีตประเพณีศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิม เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือen_US
dc.title.alternativeA traditional art and culture conservation management for cultural tourism development of local administration in the Northeast Regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this study were (1) to investigate the role in promoting and conserving the traditional art and culture of the local government organizations in northeastern Thailand and (2) to study the proactive role of the local government organizations in promoting sustainable cultural tourism. This study emphasized the conservation of the traditional custom Phi Ta Khon, Loei Province, and the traditional dance annually performed at Phanom Rung Historical Park, Buriram Province. The key informants were local leaders, mayors, directors of Provincial Culture, and the Director of the Northeast Tourism of Thailand. The results showed that the conservation of abstract and concrete traditional customs as well as art and culture of the local government in northeastern Thailand was reflected through three close relationships: (1) close-up relationship between people and the world, (2) relationship among people in the society or the community, and (3) relationship with the supernatural and something unable to be seen or touched. These three relationships were found to be three dimensions of the same story: local living and unity reflected through the local wisdom compared to three corners of the triangle in which wisdom is the foundation of the local living.en_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineรัฐประศาสนศาสตร์en_US
Appears in Collections:PAI-PA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chakkrit Chaiyarintr.pdf3.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.