Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/441
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุริยะใส กตะศิลา-
dc.contributor.authorณัฐธนินทร์ เลิศเตชะสกุล-
dc.date.accessioned2022-01-25T02:10:13Z-
dc.date.available2022-01-25T02:10:13Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/441-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการก่อตัว ขั้นตอน กลไก และกระบวนการ ของการเคลื่อนไหวของผู้นำภาคประชาสังคมในประเทศไทย และ 2) ศึกษาบทบาท พิภพ ธงไชย ในฐานะผู้นำทางการเมืองภาคประชาสังคม ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพเชิงคุณภาพ โดยการศึกษา เอกสารและทำการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่มีความเกี่ยวข้องกับนาย พิภพ ธงไชย จำนวน 8 ท่าน และใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า การก่อตัวของการเคลื่อนไหวผู้นำภาค ประชาสังคมในประเทศไทย มีสาเหตุมาจากความไม่เท่าเทียมและความเลื่อมล้ำระหว่างชนชั้น อุดมการณ์ในการต่อสู้และท้าทายต่ออำนาจที่ไม่เป็นธรรม ด้านขั้นตอนการเคลื่อนไหวของผู้นำภาค ประชาสังคมในประเทศไทย มีอยู่ 5 ขั้นตอน ได้แก่ ค้นหาประเด็นปัญหาและวิเคราะห์สาเหตุของ สภาพปัญหา วางแผนและกำหนดนโยบายในการแก้ปัญหา ดำเนินงานในการปฏิบัติในการแก้ไข ปัญหา ได้รับผลประโยชน์จากการดำเนินงานร่วมกัน และตอบสนองต่อความมุ่งหมายที่คาดหวังไว้ ทั้งนี้กลไกการเคลื่อนไหวของผู้นำภาคประชาสังคมในประเทศไทย ประกอบด้วย การใช้ สถานการณ์เป็นตัวกำหนด ใช้ช่องทางการสื่อสารหรือพื้นที่สื่อมวลชน และ การใช้สร้างเครือข่าย ภาคประชาสังคมในการขับเคลื่อน สำหรับกระบวนการของการเคลื่อนไหวผู้นำภาคประชาสังคม ใช้ 4 กระบวนการหลัก ได้แก่ กระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน กระบวนการ เคลื่อนไหวของประชาชน กระบวนการเรียกร้องผ่านยุทธวิธีในการกดดันให้รัฐสนใจแก้ปัญหา และกระบวนการสันติภาพ 2) บทบาท พิภพ ธงไชย พบว่า บทบาทของ พิภพ ธงชัย สะท้อนถึงผู้นำ ภาคประชาสังคม ดังนี้ 1) มุ่งเน้นถึงอุดมการณ์ ความเท่าเทียม และยกระดับความรู้การศึกษาผ่าน ปรัชญาความคิดด้านคุณธรรม 2) มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของประชาสังคม 3) มีฐานความรู้ ในการ วิเคราะห์ประเด็นปัญหา ที่ได้จากการสั่งสมความรู้ควบคู่มากับอุดมการณ์ 4) เป็นผู้ที่มุ่งเน้น ประโยชน์ส่วนรวม และ 5) เป็นผู้มุ่งเน้นในการลงมือทำ สะท้อนจากกการเป็นนักวิพากษ์วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคมen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectพิภพ ธงไชยen_US
dc.subjectผู้นำทางการเมือง -- ไทย -- วิจัยen_US
dc.subjectประชาสังคม -- ไทย -- ไทยen_US
dc.subjectไทย -- การเมืองและการปกครองen_US
dc.titleบทบาทผู้นำทางการเมืองภาคประชาสังคม: กรณีศึกษา นายพิภพ ธงไชยen_US
dc.title.alternativeRoles of political leaders in civil society: a case study of Mr.Pibhop Dhongchaien_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis study was aimed at investigating the formation, process, and mechanism of the civil society leaders’ political movement in Thailand as well as examining the roles of Pibhop Dhongchai as a civil society leader. This study employed qualitative research methodology. The data were collected by means of a review of related documents and in-depth interviews with eight key informants who were familiar with Pibhop Dhongchai and analyzed using the content analysis. The results showed that the formation of civil society leaders’ political movements in Thailand was caused by the social inequality among people and the cultivation of the political ideology which defied unjust authority. In addition, the public movement consisted of five stages: identifying problems and roots of the problems, creating problem-solving policies, solving problems, benefiting from the operation, and reacting to the expected goal. The mechanism of the movement included the selection of communication and media channels based on the situation and the use of civil society network as a driving force. In addition, the movement of civil society leaders required a four-stage process including encouraging the public participation in political activities, promoting the public movement, putting pressure on the government, and making peace. Considering the roles of Pibhop Dhongchai, it was found that he performed his roles as a civil society leader in the aspects as follows: 1 ) having a strong will on creating social equality and upgrading educational quality on the basis of morality, 2) promoting the political participation of the civil society, 3 ) being a knowledgeable and experienced expert possessing problem-solving strategies, 4) promoting public benefits, and 5) being a social critic who put ideas into practice.en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมืองen_US
Appears in Collections:CSI-LSBP-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattanin Lerdtechasakul.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.