Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/448
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรัณย์ ธิติลักษณ์, ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์-
dc.contributor.authorวรเทพ ว่องสรรพการ-
dc.date.accessioned2022-01-25T02:28:41Z-
dc.date.available2022-01-25T02:28:41Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/448-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายการศึกษาอยู่ที่ปัญหาของหลักการเสียงข้างมากโดยมีกรณีศึกษาเป็นวาทกรรมทางการเมืองไทยในช่วงเวลาระหว่างปี 2544-2557 งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงเอกสารโดยใช้วิธีการในแบบของทฤษฎีวิพากษ์ การวิเคราะห์วาทกรรม และทฤษฎีทางเลือกอื่นที่เกี่ยวข้องมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ 1) เพื่อทำความเข้าใจการอ้างหลักการสนับสนุนหลักการเสียงข้างมากในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย 2) เพื่อสร้างความเข้าใจในปัญหาของหลักการเสียงข้างมากในการเมืองไทยช่วงระหว่างปี 2544-2557 3) เพื่อประยุกต์ใช้หลักการเสียงข้างมากในการพัฒนาระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยในสังคมไทย ผลการศึกษาที่ค้นพบคือ 1) จากปัญหาเรื่องสถานะทางญาณวิทยาของหลักการเสียงข้างมาก การอ้างหลักการเพื่อสนับสนุนหลักการเสียงข้างมากในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยสามารถกระทำได้ในเชิงสาธารณะ หรือโดยการยอมรับร่วมกันเท่านั้น 2) ปัญหาการอ้างหลักการสนับสนุนหลักการเสียงข้างมากในสังคมไทยระหว่างปี 2544-2557 เป็นปัญหาที่เกิดจากการสร้างการรับรู้ที่แตกต่างกัน ระหว่างการรับรู้เกี่ยวกับวาทกรรมความเป็นไทยกับวาทกรรมที่ก่อตัวขึ้นในยุคของนายทักษิณ ชินวัตร 3) การพัฒนาระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยในสังคมไทยต้องสร้างความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดระหว่างคุณค่าในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยกับวัฒนธรรมทางการเมืองผ่านกระบวนการร่วมไตร่ตรองในชุมชนของสังคมไทยen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectไทย - การเมืองการปกครอง -- 2544-2557en_US
dc.subjectประชาธิปไตยen_US
dc.subjectการเมืองการปกครอง -- ไทยen_US
dc.titleปัญหาเรื่องหลักการเสียงข้างมากในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย: กรณีศึกษาการเมืองไทยในช่วงระหว่างปี 2544-2557en_US
dc.title.alternativeProblems of majority rule in democracy: a case study of Thai Politics between 2001-2014en_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed at investigating problems of the majority rule in the discourse of Thai politics during 2001-2014. This research is a documentary research with data analysis based on critical theory, discourse analysis theories, and relevant alternative theories. The purposes were: 1) to justify the majority rule in the democracy, 2) to understand problems of the majority rule in Thai politics during 2001-2014, and 3) to apply the majority rule with the development of democracy in Thai politics. From the analysis of the problem in the epistemic status of the majority rule, it was found that the justification of the majority rule in democracy could be conducted only through public or inter-subjective justification. In addition, the problem of the majority rule in Thai politics during 2001-2014 was the problem of different subjectives between the discourse of Thainess and the discourse that was shaped in the period of the former Prime Minister, Thaksin Shinawatra. Lastly, the development of democracy in Thai politics must emphasize a close relationship between the democracy values and Thai political culture through the deliberative procedure in the communityen_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมืองen_US
Appears in Collections:CSI-LSBP-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Woratep Wongsuppakan.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.