Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/456
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สังศิต พิริยะรังสรรค์ | - |
dc.contributor.author | ตฤณ ทวิธารานนท์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-25T02:40:29Z | - |
dc.date.available | 2022-01-25T02:40:29Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/456 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาบทบาทของโซเชียลมีเดียในการลงโทษทางสังคม (Social Sanctions) ซึ่งในปัจจุบันเริ่มเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการที่สร้างความเปลี่ยนแปลงทางสังคม แต่ยังมีการศึกษาหรือแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าวไม่มากนัก โดยมุ่งหวังที่จะนำผลการศึกษามาใช้เป็นมาตรการร่วมกับการบังคับใช้กฎหมายด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการลงโทษทางสังคม โดยเฉพาะมาตรการด้านการควบคุมการใช้โซเชียลมีเดียในประเด็นการลงโทษทางสังคมที่อ่อนไหว การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพในรูปแบบบูรณาการข้ามศาสตร์ (Trans-Disciplinary) รวบรวมข้อมูลจากเอกสารวิชาการและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่มีส่วนเกี่ยวข้องในเหตุการณ์ที่มีการลงโทษทางสังคมที่มีการเคลื่อนไหวมวลชนขนาดใหญ่ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ โดยมีโซเชียลมีเดียเป็นเครื่องมือที่สำคัญ ผลการศึกษาพบว่า บทบาทของโซเชียลมีเดียในการลงโทษทางสังคมนั้นเป็นตัวกระตุ้น (Stimulus) และเป็นตัวช่วยขยาย (Amplifier) ให้เนื้อหาของการลงโทษทางสังคมสามารถกระจายออกไปสู่วงกว้างได้อย่างรวดเร็วโดยเทคโนโลยีที่แฝงอยู่ในโซเชียลมีเดีย เช่น การคัดกรองเนื้อหาให้ตรงกับผู้เสพ หรือคัดเลือกเนื้อหาที่เป็นกระแส (Preference Algorithm) การเรียนรู้ด้วยตัวเองของคอมพิวเตอร์ (Machine Learning) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ที่สร้างด้วยวัตถุประสงค์เพื่อการทำการค้าและโฆษณาเป็นหลัก โซเชียลมีเดียสามารถสร้างมุมมองเพียงด้านเดียวต่อเหตุการณ์ทางสังคม ทำให้เกิดการกระจายตัวของประทุษวาจา (Hate Speech) การระรานทางไซเบอร์ (Cyberbullying) ที่ละเลยการเสนอข้อเท็จจริง รัฐจึงควรมีการสร้างมาตรการ การตรวจสอบ หรือหน่วยงานกลาง ที่สามารถควบคุมการใช้งานเทคโนโลยีโซเชียลมีเดียและการนำข้อมูลส่วนตัวไปใช้ในประเด็นที่อ่อนไหว และต้องสร้างมาตรฐานจรรยาบรรณของการนำเสนอสื่อ ความรู้เท่าทันเทคโนโลยีของสื่อ ความตระหนักรู้ด้านข้อมูลส่วนตัวให้กับสมาชิกในสังคมทุกระดับ ให้มีความทันสมัยต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | สื่อสังคมออนไลน์ | en_US |
dc.subject | การควบคุมทางสังคม -- ไทย | en_US |
dc.subject | เครือข่ายสังคมออนไลน์ | en_US |
dc.title | บทบาทของโซเชียลมีเดียในการลงโทษทางสังคม | en_US |
dc.title.alternative | Role of social media in social sanction | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This dissertation was aimed to study the role of social media in social sanction playing roles in the social changing process. However, very few related studies are available. The study, hence, was conducted to discover a proper measure that could be applied to the enforcement of laws related to the use of social media for sensitive social sanction issues. This trans-disciplinary research applied a qualitative approach with an emphasis on the dialectical synthesis of data obtained from related theories and interviews with key informants who witnessed or participated in national or international social sanction or movement events where social media were significantly used. The results of the study showed that social media in social sanction were both stimuli and amplifiers spreading the contents of social sanction. Some technologies embedded in social media, e.g. preference algorithm, machine learning, and artificial intelligence (AI), were invented for commercial and advertising purposes. Social media could probably present only one point of view towards a social sanction event which could lead to viral bias and prejudice, hate speeches, and cyberbullying without considering related facts. The government was recommended to determine to a preventive measure or establish an organization for the control of the use of social media and personal data in social sanction and movement. The government should establish a code of conduct for media presentation, promote media literacy, and raise the social awareness about the security of personal data so that the public could cope with technological change | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง | en_US |
Appears in Collections: | CSI-LSBP-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tyn Tawitaranond.pdf | 2.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.