Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/465
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธรรมวิทย์ เทอดอุดมธรรม | - |
dc.contributor.author | พงษ์สิริ ตาอินทร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-25T05:58:14Z | - |
dc.date.available | 2022-01-25T05:58:14Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/465 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (อาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัญหาและผลกระทบ ของแชร์ลูกโซ่ในธุรกิจเงินร่วมลงทุนข้ามชาติที่เกิดขึน้ ในประเทศไทย เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อจากัดของการบังคับใช้กฎหมายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาแชร์ลูกโซ่ในธุรกิจเงินร่วม ลงทุนข้ามชาติ และเพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมายในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาแชร์ลูกโซ่ในธุรกิจเงินร่วมลงทุนข้ามชาติ โดยใช้การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ การวิจัยเอกสาร การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม ผลการ ศึกษาวิจัยพบว่า สถานการณ์ปัญหาและผลกระทบของแชร์ลูกโซ่ในธุรกิจเงินร่วมลงทุนข้ามชาติที่ เกิดขึน้ ในประเทศไทย มีลักษณะของการกระทาความผิดในรูปแบบขององค์กรอาชญากรรมข้าม ชาติ มีการใช้สื่อสังคมออนไลน์เข้ามาช่วยในการก่ออาชญากรรม รวมทัง้ มีการใช้รูปแบบของธุรกิจ เงินร่วมลงทุนในต่างประเทศเป็นเครื่องมือในการหลอกลวง โดยข้อจากัดของการบังคับใช้กฎหมาย ในการป้ องกันและแก้ไขปัญหาแชร์ลูกโซ่ในธุรกิจเงินร่วมลงทุนข้ ามชาติ ได้แก่ (1) ด้านผู้กระทา ความผิด (2) ด้านผู้เสียหาย (3) ด้านกฎหมาย (4) ด้านหน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย และ (5) ด้าน การเงินนอกระบบ โดยแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมายในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาแชร์ลูกโซ่ในธุรกิจเงินร่วมลงทุนข้ ามชาติ ได้แก่ (1) การจัดตัง้ หน่วยงานป้ องกันและ ปราบปรามแชร์ลูกโซ่ (2) การจัดตัง้ กองทุนเพื่อการป้ องกันปัญหาแชร์ลูกโซ่ (3) การประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องของปัญหาแชร์ลูกโซ่และความรู้ทางการเงิน (4) การสร้ างความ ร่วมมือและการทบทวนความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาแชร์ลูกโซ่ อันมีลักษณะเป็นองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ (5) การนามาตรการกฎหมายต่างประเทศเกี่ยวกับ การป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมทางเศรษฐกิจมาปรับใช้กับกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกัน และปราบปรามแชร์ลูกโซ่ภายในประเทศ (6) การเพิ่มแหล่งเงินทุนภายในประเทศและการพัฒนา แนวคดิ เกี่ยวกับแชร์ชุมชน และ (7) การจัดตัง้ ศาลชานัญพิเศษด้านคดีอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | กฎหมายแชร์ | en_US |
dc.subject | แชร์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย | en_US |
dc.subject | การบังคับใช้กฎหมาย -- ไทย | en_US |
dc.title | การเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาแชร์ลูกโซ่ในธุรกิจเงินร่วมลงทุนข้ามชาติ | en_US |
dc.title.alternative | Efficiency enhancement of law enforcement to prevent and resolve a ponzi scheme problem in the transnational venture capital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this research were to study the problems and impacts of a Ponzi scheme in the transnational venture capital in Thailand, to investigate the problems, obstacles, and limitations of law enforcement to prevent and resolve the Ponzi scheme problems in transnational venture capital, and to examine the guidelines for enhancing the efficiency of law enforcement to prevent and resolve the Ponzi scheme problem in the transnational venture capital. This was the qualitative research applying documentary research, non-participant observation, in-depth interview, and focus group. The research results illustrated that the problems and impacts of the Ponzi scheme problem in the transnational venture capital in Thailand was an offense in a form of a transitional crime organization using the social media to commit the crime, as well as the transnational venture capital investment as a deception tool. The limitation of law enforcement to prevent and resolve the Ponzi scheme problem in transnational venture capital was classified into five main areas: the offenders, the victims, legislation, law enforcement authorities, and informal finance. There were seven significant proposed guidelines to enhance the efficiency of law enforcement to prevent and resolve the Ponzi schemes problem in transnational venture capital: the establishment of the Ponzi schemes prevention and suppression agency, the establishment of the fund for Ponzi schemes prevention, the public relations on Ponzi schemes problems and financial literacy, the construction of cooperation and the review on the international relations in preventing and resolving the Ponzi schemes problem as the transnational crime organization, the application of foreign laws related to the prevention and solving the financial crime problem to the domestic laws concerning the Ponzi schemes prevention and suppression, the increase of domestic source of fund and the development of community rotating savings, and the formation of a special jurisdiction for economic crime cases. | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | อาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม | en_US |
Appears in Collections: | CJA-CJA-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pongsiri Ta-In.pdf | 5.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.