Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/486
Title: การออกแบบกราฟฟิกเพื่อสร้างบรรยากาศที่ดีในโรงพยาบาล
Other Titles: Environmental graphic for hospital
Authors: ธนกฤต วนะสุข
metadata.dc.contributor.advisor: สุวิทย์ รัตนานันท์
Keywords: สถานพยาบาล -- การออกแบบและการสร้าง;การออกแบบกราฟิก;โรงพยาบาล -- การออกแบบและการสร้าง
Issue Date: 2563
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: จากประสบการณ์การใช้บริการตามสถานพยาบาลต่างๆไม่ว่าจะเป็นสถานพยาบาลของรัฐหรือเอกชนพบว่า ป้ายชี้นำทางและกราฟิกต่างๆนั้นไม่มีความชัดเจน ไม่สามารถสร้างความเข้าใจให้ผู้ที่มารับบริการได้ ประกอบกับตัวแผนผังเดิมของอาคารมีการจัดสรรที่ไม่สอดคล้องกับพฤติกรรมการใช้งาน ทำให้ผู้รับบริการเกิดปัญหาการหลงทางและความสับสนในขั้นตอนปฏิบัติรวมถึงบรรยากาศสถานพยาบาลที่ไม่เอื้อต่อการเยียวยา สภาพแวดล้อมที่ห้อมล้อมไปด้วยผู้ป่วยกลิ่นยา และแสงสว่างที่ไม่เพียงพอ ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้ผู้รับบริการเกิดความเครียด กังวล และประสบการณ์ที่ไม่ดีในการมาสถานพยาบาล จากปัญหาดังกล่าวผู้ออกแบบได้เลือกคลินิกเวชกรรมมหาวิทยาลัยรังสิตเป็นสถานที่ต้นแบบ และทำการรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์รองผู้อำนวยการคลินิกเวชกรรม มหาวิทยาลัยรังสิตและเจ้าหน้าที่จำนวน 5 คน ถึงระบบการทำงานและปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงการรวบรวมข้อมูลผ่านการสังเกตพฤติกรรมของผู้รับบริการและเจ้าหน้าที่ภายในสถานพยาบาล พบว่าการจัดพื้นทที่ใช้สอยไม่เหมาะกับพฤติกรรมการใช้งาน ป้ายชีอนำทางและป้ายระบุแผนกต่างๆไม่มีความชัดเจน สร้างความสับในให้ผู้รับบริการ ทำให้เจ้าหน้าที่ต้องคอยตอบ คำถามเดิมซํ้าๆ ผู้ออกแบบจึงทำการออกแบบและปรับปรุงระบบป้ายชี้นำทาง การสื่อสารผ่าน กราฟิก รวมถึงการปรับปรุงพื้นที่ใช้สอยและบรรยากาศภายในสถานพยาบาล โดยเน้นกระบวนการ คิดเชิงออกแบบ จากนั้นนำแนวทางต้นแบบที่ได้จากการออกแบบให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ พิจารณา ได้แก่ คณะอาจารย์จากวิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลยั รังสิตจำนวน 4 ท่าน ผลปรากฏ ว่าต้นแบบเป็นที่พึงพอใจ ป้ายชี้นำทางและกราฟิกต่างๆสามารถสื่อสารได้ชัดเจน รวมถึงเป็นการ สร้างบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่ดีให้สถานพยาบาล ส่วนด้านการปรับปรุงพื้นที่ใช้สอยนั้นเหมาะสม ต่อพฤติกรรมการใช้งานของเจ้าหน้าที่และไม่สร้างความสับสนให้แก่ผู้มารับบริการ ซึ่งเป็นการ ช่วยลดความกังวลและสร้างประสบการณ์ที่ดีให้แก่ผู้ที่มารับบริการในสถานพยาบาล
metadata.dc.description.other-abstract: From the researcher’s experience, the directory and environmental graphics in either public or private hospitals generally did not work and failed to communicate with the users. In addition, the building plans were not primarily designed to suit the users’ behaviors, resulting in users getting lost and confused. The environment in the hospital was also inappropriate, having medicinal smells and insufficient light, which negatively affected the patients’ recovery. In order to find a proper way to deal with these problems, RSU medical clinic was selected to be a prototype. In-depth interviews were conducted with the deputy director and other five clinic staff in order to examine the work process as well as problems arising. In addition, the behaviors of the patients and service providers were also observed. The information collected revealed that the facilities planning tended to deter the workflow of the clinic and the directory and environmental graphics were not clear enough that the service providers needed to answer the same questions repeatedly. The researcher, therefore, redesigned and improved the directory, graphics, and environment within the clinic by emphasizing the design thinking process. The design prototype was evaluated by three design professors from the College of Design, Rangsit University. The results from the evaluation showed that the prototype was satisfactory. The improved directory and environmental graphics were also clear and able to communicate with the clinic users well. The designed environment was appropriate for the recovery of patients. As for the facilities planning, the new plan was considered appropriate for the service providers’ behaviors and did not create confusion to the users. This created a good experience and decreased anxiety among users coming to the clinic
Description: วิทยานิพนธ์ (ศป.ม. (การออกแบบ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563
metadata.dc.description.degree-name: Master of Fine Arts
metadata.dc.description.degree-level: Master's Degree
metadata.dc.contributor.degree-discipline: Design
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/486
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:Art-AD-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanakrit Wanasook.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.