Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/489
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวิทย์ รัตนานันท์ | - |
dc.contributor.author | ณัฐชนน ชลวัฒนาธนากร | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-27T03:38:35Z | - |
dc.date.available | 2022-01-27T03:38:35Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/489 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม. (การออกแบบ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | ขยะหรือสิ่งของเหลือใช้ในปัจจุบันนั้นมีอยู่จำนวนมากซึ่งได้ถูกทิ้งไว้อย่างไม่มีคุณค่า จนกลายเป็นสิ่งไม่พึงประสงค์กลายเป็นมลภาวะกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในสถานที่ที่มีผู้คนมากมาย เช่น สถานบันการศึกษา ซึ่งมีจำนวนบุคลากรเป็นจำนวนมาก ผู้วิจัยได้เห็นถึงคุณค่าของขยะหรือสิ่งของเหลือใช้เหล่านี้นั้นยังมีหนทางที่จะสามารถนำมาออกแบบหรือแปลรูปใหม่ให้มีคุณค่าและสามารถใช้ประโยชน์ได้ โดยเฉพาะสามารถออกแบบได้ในลักษณะของงานศิลปะ โครงการนี้จัดทำขึ้นเพื่อรณรงค์และให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่อาจารย์และนักศึกษาในมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการนำขยะมาใช้ประโยชน์ โดยเปลี่ยนเป็นผลงานทางศิลปะ และวัตถุที่มีประโยชน์ โดยจัดทำเว็ปเพจที่ออกแบบให้มีภาพอินโฟกราฟิกที่เข้าใจง่ายและสามารถโน้มน้าวให้ผู้คนอยากมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่ อาจารย์และนักศึกษาสามารถที่ถ่ายทอดผลงานสร้างสรรค์ที่ปฏิมากรรมจากขยะ ในรูปแบบของ สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจาวันหรือวัตถุที่เป็นสาธารณประโยชน์ เพื่อรวบรวมแนวทางการใช้ประโยชน์จากขยะ ซึ่งทำให้ผู้คนเห็นคุณค่าของขยะซึ่งสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ในแง่มุมอื่น | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ขยะ -- การจัดการ | en_US |
dc.subject | การกำจัดขยะ -- แง่สิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.subject | การกำจัดขยะชุมชน | en_US |
dc.subject | ขยะ -- การนำกลับมาใช้ใหม่ -- วิจัย | en_US |
dc.title | การจัดการขยะในมหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.title.alternative | Management waste in Rangsit University | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The global population dispose of a large amount of waste every day resulting in mountains of accumulated waste that pollutes the environment since they do not realize the value of waste. Waste is also the origin of a number of health problems. Due to the overlooked value of waste, the author aimed to convert this precious resource to useful products or works of art by recycling, upcycling, or reusing waste. The proposed campaign was aimed to educate the staff, the lecturers, and the students in the university on how trash can be converted to works of art or well-designed utilitarian objects. Making the participants realize the value of waste, the campaign was promoted through a web page designed to provide easy-to-understand infographic images that could persuade viewers to participate in the campaign and allow them to create a work of art or a useful product from waste | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การออกแบบ | en_US |
Appears in Collections: | Art-AD-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Natchanon Cholwatthanatanakorn.pdf | 3.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.