Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/506
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณเพ็ญ ฉายปรีชา-
dc.contributor.authorวาวี พรสิริภักดี-
dc.date.accessioned2022-02-17T08:57:10Z-
dc.date.available2022-02-17T08:57:10Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/506-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractในยุคของเทคโนโลยีและการสื่อสาร ทุกคนสามารถเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ได้รวดเร็วด้วยสมาร์ทโฟนเครื่องเดียว รวมถึงเยาวชนได้รับข่าวสารทั้งเชิงบวกและเชิงลบ โดยคนใกล้ชิดไม่อาจกรองหรือให้คำแนะนำได้ทัน จนก่อตัวเป็นปัญหาสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน ที่ให้ความสำคัญกับตัวตนของตัวเองในโลกออนไลน์เป็นอย่างมาก เยาวชนส่วนใหญ่ยังขาดวุฒิภาวะทางด้านความคิด ขาดทักษะและประสบการณ์ชีวิต จึงมีความสามารถในการแก้ปัญหาได้ไม่ดีพอเมื่อเทียบกับวัยผู้ใหญ่ เมื่อเยาวชนได้รับความคิดเห็นหรือการวิพากษ์วิจารณ์ในแง่ลบ อาจทำให้เกิดโรคซึมเศร้าเนื่องจากมีความพึงพอใจในตัวเองตํ่า (Low self esteem) การสร้างแอนิเมชัน 2 มิติขาวดำเพื่อเผยแพร่ลงสื่อสังคมออนไลน์ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้กำลังใจเยาวชนที่มีแนวโน้มเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งมีเนื้อหาใกล้ตัวกับเยาวชน เช่น สังคมในห้องเรียน ความกดดันจากทางบ้าน ฯลฯ นอกจากนี้มีการจำลองสภาพจิตใจของตัวละครที่เป็นเยาวชนที่ตระหนักถึงการให้กำลังใจตัวเองอีกด้วยแอนิเมชันที่สร้างสรรค์ออกมาอาจไม่สามารถช่วยให้เยาวชนหายจากการเป็นโรคซึมเศร้า หรือ การมีความพึงพอใจในตัวเองตํ่าได้ แต่สามารถสร้างแรงบันดาลใจ และให้กำลังใจผู้ที่มีแนวโน้ม และอยู่ในความสิ้นหวังได้ การสื่อสารครั้งนี้ไม่ได้นำเสนอเพื่อให้แก้ปัญหาให้หายขาด แต่เป็นการสื่อสารให้เยาวชนตระหนักถึงสภาพจิตใจตัวเองเพื่อสร้างเสริมกำลังใจในการใช้ชีวิตให้กับเยาวชนen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectแอนิเมชั่น -- การผลิต -- วิจัยen_US
dc.subjectภาพยนตร์สองมิติ -- การออกแบบ -- วิจัยen_US
dc.subjectโรคซึมเศร้า -- การบำบัดen_US
dc.titleการออกแบบภาพยนตร์แอนิเมชัน 2 มิติขาวดำ เพื่อให้กำลังใจเยาวชนไทยที่มีแนวโน้มเป็นโรคซึมเศร้าen_US
dc.title.alternativeTwo-dimensional black & white animation design to encourage Thai youth with depressionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractIn the current age of technology and communication, everybody can gain access to social media platforms through a simple device such as a smartphone. Consequently, the youth get bombarded by positive and negative information without any filter or guidance. The circumstance has proven to cause detrimental effects on the youth who prioritize their social media presence. With their immature problem-solving abilities, consequently, they tend to have low self-esteem and experience depression caused by negative online comments and feedbacks. The two-dimensional black & white animation was designed to encourage young people with a tendency of depression. Released on social media, the animation contained scenarios the youth could relate to, e.g. school life, family pressure, etc. The mental state of the youth with a tendency of depression was replicated in the animation in order to raise the youth’s awareness on self-encouragement. The animation may not be able to completely cure depression or improve their self-esteem, but it can inspire and encourage those who have a tendency of depression or are currently in the state of depression. The message of support and encouragement is not meant to be a solution to the problem in its entirety, but to raise the youth’s awareness of their own mental state and to help the youth keep moving forwarden_US
dc.description.degree-nameศิลปมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineคอมพิวเตอร์อาร์ตen_US
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vavee Pornsiripakdee.pdf7.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.