Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/526
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุษาพร เสวกวิ | - |
dc.contributor.author | วิรุณยุพา เทียนรัตน์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-02-18T03:52:13Z | - |
dc.date.available | 2022-02-18T03:52:13Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/526 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการสร้างสรรค์ท่ารำนาฏศิลป์จากบทเพลงโดยใช้โครงงาน 2) วัดระดับทักษะการแสดงของนักเรียนในการสร้างสรรค์ผลงานเรื่องท่ารำนาฏศิลป์จากบทเพลง 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานในรายวิชานาฏศิลป์ ในหัวข้อ การสร้างสรรค์ท่ารำนาฏศิลป์จากบทเพลง โดยมีกลุ่มทดลองคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 30คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนการรู้ จำนวน 4 แผน แผนละ 120 นาที 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบวัดทักษะการแสดงของนักเรียน 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานในรายวิชานาฏศิลป์ สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ สถิติพื้นฐาน ค่าความเที่ยงตรง (IOC) คะแนนเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) การทดสอบ t – test การหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ค่าแอลฟ่าของครอนบาค (Alpha's Cronbach) ผลวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยใช้การเรียนการสอนแบบโครงงานในรายวิชานาฏศิลป์ ในหัวข้อการสร้างสรรค์ท่ารำนาฏศิลป์จากบทเพลงสาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) ผลการวัดระดับทักษะการแสดงของนักเรียน ต่อการสอนแบบโครงงานในรายวิชานาฏศิลป์ อยู่ในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ เท่ากับ 80.00 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานในรายวิชานาฏศิลป์มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | นาฏศิลป์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | en_US |
dc.subject | การสอนแบบโครงงาน | en_US |
dc.subject | นาฏศิลป์ -- ไทย | en_US |
dc.subject | การรำ -- การออกแบบ | en_US |
dc.title | การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานในรายวิชานาฏศิลป์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในหัวข้อเรื่องการสร้างสรรค์ท่ารำนาฏศิลป์จากบทเพลง | en_US |
dc.title.alternative | Project based learning management for Thai classical dance of grade 6 students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The purposes of this research were: 1) to study students’ learning achievement, 2) to assess their performing skills, and 3) to explore their satisfaction towards project-based instruction. The research emphasized an experiment group of 30 grade 6 students studying in a Thai classical dance class in the academic year 2/2019 on the lesson on the Creation of Dancing Acts from Songs. The research tools were: 1) four instructional management plans, each of which was designed for 120-minute instruction, 2) a learning achievement test, 3) a performance skill test, and 4) a questionnaire on students’ satisfaction. Data analysis was conducted using item objective congruence (IOC), mean (), standard deviation (S.D.), reliability analysis, t – test, and Alpha's Cronbach. The result revealed that 1) students’ learning achievement after treated with the project- based instructional management plans was higher than before treated with the plans with a statistical significance level of 0.05. 2) Students obtained an average performing skill test score of 80.00% which was at a very good level. 3) Students were satisfied with project-based instruction at a highest level. | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Virunyupa Tienrat.pdf | 3.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.