Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/537
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย เล็กเจริญ-
dc.contributor.authorนิติคุณ ยุกตะนันท์-
dc.date.accessioned2022-02-18T05:36:20Z-
dc.date.available2022-02-18T05:36:20Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/537-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สท.ม. (เทคโนโลยีสื่อสังคม)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมเพื่อการศึกษาของครูสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ 2. เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ครูที่ใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมในการสอนและสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 400 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์เป็นแบบมาตรประมาณค่า 7 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า 1. โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมเพื่อการศึกษา ประกอบด้วย 6 ปัจจัย ได้แก่ 1) ด้านความคาดหวังในประสิทธิภาพ 2) ด้านความคาดหวังในความพยายาม 3) ด้านอิทธิพลทางสังคม 4) ด้านสิ่งอานวยความสะดวก 5) ความตั้งใจแสดงพฤติกรรม และ 6) พฤติกรรมการใช้งาน ซึ่งแต่ละปัจจัยส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมเพื่อการศึกษา 2. โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมเพื่อการศึกษามีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างดี ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมเพื่อการศึกษา ได้แก่ สภาพสิ่งอานวยความสะดวก และความตั้งใจแสดงพฤติกรรมen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานen_US
dc.subjectความเป็นจริงเสริม -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectการใช้เทคโนโลยีen_US
dc.subjectครู -- การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -- กรุงเทพมหานครen_US
dc.titleโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมเพื่อการศึกษาของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลen_US
dc.title.alternativeCausal relationship model of augmented reality usage behavior for education purposes of teachers under The Office of The Basic Education Commission in Bangkok and vicinityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this research were: 1) to develop a causal of relationship model of augmented reality usage behavior for educational purposes of teachers under the Office of the Basic Education Commission in Bangkok and Vicinity and 2) to validate the consistency of the causal relationship model with empirical data. The sample group consisted of 400 teachers under the Office of the Basic Education Commission in Bangkok and vicinity who used augmented reality technology in teaching, the number of which was obtained through the quota sampling method. The instrument used in the research was an online questionnaire with 7 rating scales. Data were analyzed using descriptive statistics including mean, standard deviation, and skewness and kurtosis, as well as inferential statistics including structural equation model. The results of the research showed that the model of causal relationships of augmented reality usage behavior consisted of 6 factors: 1) performance expectancy, 2) effort expectancy, 3) social influence, 4) facilitating conditions, 5) behavioral intention, and 6) use behavior. Each factor was found to affect the teachers’ augmented reality technology usage behavior. The model of causal relationships was found consistent with the empirical data. Two variables, facilitating conditions and behavioral intention, were found to have direct impact on their augmented reality technology usage behavioren_US
dc.description.degree-nameสารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineเทคโนโลยีสื่อสังคมen_US
Appears in Collections:ICT-SMT-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nitikhun Yuktanun.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.