Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/541
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เตชาเมธ เพียรชนะ | - |
dc.contributor.author | จุไรรัตน์ อนันต์ไพฑูรย์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-02-18T05:51:07Z | - |
dc.date.available | 2022-02-18T05:51:07Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/541 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ก่อนเรียนและหลังเรียน 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ก่อนเรียนและหลังเรียน และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการเรียน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ แหล่งข้อมูลของการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 1 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 37 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ประเภท คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางานเป็นทีม และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลตามความมุ่งหมายของการวิจัย ประการที่ 1 และ 2 ใช้การทดสอบค่า t แบบกลุ่มตัวอย่างสัมพันธ์กัน (t test for dependent Samples) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลตามความมุ่งหมายของการวิจัยประการที่ 3 ใช้การหาค่าเฉลี่ย (x̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ทักษะกระบวนการทางานเป็นทีมของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความพึงพอใจในการเรียน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ อยู่ในระดับมาก ( x̅ เท่ากับ 4.24, S.D. เท่ากับ 0.07) | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การทำงานเป็นทีม -- หลักสูตร -- วิจัย -- ไทย | en_US |
dc.subject | การเรียนรู้แบบร่วมมือ | en_US |
dc.subject | การเรียนรู้เป็นทีม -- วิจัย | en_US |
dc.title | การพัฒนาทักษะการทำงานเป็นทีม ในรายวิชางานอาหาร โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 | en_US |
dc.title.alternative | The development of teamwork skills in cooking course using cooperative learning approach for grade 8 students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The research objectives of this research were to compare learning achievement of the grade 8 students before and after using Cooperative Learning Approach; to compare teamwork skills of the grade 8 students before and after using Cooperative Learning Approach; and to study the satisfaction of the grade 8 students taught by Cooperative Learning Approach. The data were gathered from a classroom of 37 grade 8 students, obtained from Cluster Random Sampling. The research instruments used consisted of 1) a Cooperative Learning Approach lesson plan, 2) a learning achievement test, 3) a teamwork skill assessment, and 4) a student satisfaction questionnaire. The data were analyzed using data analysis for the purpose of the research. According to the first and the second objectives, t-test for dependent samples was used. The mean (x̅) and standard deviation (SD) were used for finding the results of the third objective. The results revealed that the learning achievement of the grade 8 students after learning through Cooperative Learning Approach was higher than the achievement prior to learning through the approach with statistical significance at the .05 level. It was also found that the teamwork skills of the grade 8 students after learning through Cooperative Learning Approach were higher than the teamwork skills prior to learning through the approach with statistical significance at the .05 level. Finally, the results showed that the grade 8 students were satisfied with learning through Cooperative Learning Approach at high level (x̅ = 4.24, S.D. = 0.07). | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Jurairad Ananpaitoon.pdf | 4.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.