Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/543
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเตชาเมธ เพียรชนะ-
dc.contributor.authorกิตติชัย สุคำภา-
dc.date.accessioned2022-02-18T05:58:26Z-
dc.date.available2022-02-18T05:58:26Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/543-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับพัฒนาการด้านความสามารถในการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ พฤติกรรมในการเรียน และความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการสอนด้วยวิธีการสร้างความรู้ด้วยตนเองร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา แหล่งข้อมูลของการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ทั้งสิ้น 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ประเภท คือ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมในการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ใช้สูตรคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ (GS) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมในการเรียน และความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนใช้ค่าเฉลี่ย (𝑥̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับพัฒนาการสัมพัทธ์ด้านความสามารถในการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ของนักเรียนในภาพรวมนักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์อยู่ในระดับสูงคิดเป็นร้อยละ 61.99 ของปริมาณที่ควรพัฒนาได้ โดยแบ่งเป็นนักเรียนที่มีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์อยู่ในระดับสูงมากคิดเป็นร้อยละ 28 ระดับสูงร้อยละ 40ระดับกลางร้อยละ 28 และระดับต้นร้อยละ 4 2) พฤติกรรมในการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการสอนด้วยวิธีการสร้างความรู้ด้วยตนเองร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาอยู่ในระดับดี (X̅ = 2.61) 3) ความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยวิธีการสร้างความรู้ด้วยตนเองร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาอยู่ในระดับพึงพอใจมาก (X̅ = 4.34)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการแก้ปัญหา -- วิจัยen_US
dc.subjectการแก้ปัญหาในเด็กen_US
dc.subjectการพัฒนาตนเอง -- วิจัยen_US
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสร้างความรู้ด้วยตนเองร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของ โพลยาของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeThe development of mathematical problem-solving ability of grade 6 students using constructivism and polya’s problem solving processen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this study were to investigate the development level of the mathematical problem solving ability, learning behavior, and learning satisfaction of the students who were taught using the constructivist approach along with Polya’s problem solving process. The samples in this study were 25 grade six students. The instruments used to collect the data included a teaching plan, an achievement test, a learning behavior observation form, and a learning satisfaction evaluation form. The relative gain score (GS) was used to analyze the data on the mathematical problem solving ability, while mean and standard deviation were used to analyze the data on learning behavior and learning satisfaction of the students. The results showed that the relative gain score of the mathematical problem solving ability of the students was high or at 61.99% of the expected score. There are 4 groups of students with different development levels including a very high level (28%), a high level (40%), a moderate level (28%), and a low level (4%). Moreover, it was found that the learning behavior of students was good (X̅ = 2.61). Finally, the results revealed that the students were highly satisfied with the learning activities which were developed based upon the constructivism and Polya’s problem solving process (X̅ = 4.31).en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineหลักสูตรและการสอนen_US
Appears in Collections:EDU-CI-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kittichai Sukhampha.pdf3.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.