Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/546
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชิดชไม วิสุตกุล-
dc.contributor.authorชุติมา ฟุ้งสุข-
dc.date.accessioned2022-02-18T06:11:40Z-
dc.date.available2022-02-18T06:11:40Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/546-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถด้านการพูดในงานอาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ก่อนและหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการพูดในงานอาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่กาลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 1 ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียน 30 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ จำนวน 4 แผน 2) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการพูดในงานอาชีพ และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่มีต่อการเรียนรู้เรื่องการพูดในงานอาชีพ โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t–test for dependent samples ผลการวิจัยพบว่า 1) นักศึกษามีความสามารถด้านการพูดในงานอาชีพหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุกอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.60en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการพูด -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectการพูด -- เทคนิคen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้en_US
dc.titleการพัฒนาความสามารถด้านการพูดในงานอาชีพ โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงen_US
dc.title.alternativeDeveloping the speaking ability for career of students at high vocational certificate through active learningen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe research objectives were 1) to compare the speaking ability for career of students at high vocational certificate before and after learning through active learning and 2) to study the satisfaction of students at high vocational certificate towards active learning to develop the speaking ability for career. The sample used in the study was the students at high vocational certificate currently studying in the first semester of academic year 2020. 30 students in one classroom at a vocational college in Nakhon Sawan province were selected using cluster random sampling. The research instruments consisted of 1) four lesson plans of Thai skill for career course 2) a test on the speaking ability for career, and 3) a questionnaire on the satisfaction of students at high vocational certificate towards active learning to develop the speaking ability for career. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation and t – test for dependent samples. The findings showed that 1) the students’ speaking ability for career after the lesson was significantly higher than before the lesson at the .01 level and 2) the students were satisfied with learning using the study arrangement Know proactive at the most level Has a mean of 4.60 2) the students’ satisfactory on active learning was at highest level with the mean of 4.60en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineหลักสูตรและการสอนen_US
Appears in Collections:EDU-CI-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chutima Fungsuk.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.