Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/564
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทอดศักดิ์ ชมโต๊ะสุวรรณ-
dc.contributor.authorสวรรยา วิทยาโรจน์วงศ์-
dc.date.accessioned2022-02-18T07:16:18Z-
dc.date.available2022-02-18T07:16:18Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/564-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐกิจดิจิทัล)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยฉบับนี้ เป็นการศึกษาระบบติดตามทางศุลกากร ภายใต้เทคโนโลยีอีล็อก มา ใช้ในการการผ่านพิธีการศุลกากร ภายในเขตปลอดอากร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความ เป็นไปได้ในการลงทุน โดยใช้เกณฑ์การวัดความคุ้มค่าของโครงการเป็นเกณฑ์การตัดสินใจว่าควร ลงทุนหรือไม่ ประกอบด้วย ระยะเวลาคืนทุนคิดลด มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราผลตอบแทนภายใน และการวิเคราะห์ความอ่อนไหว โดยเก็บข้อมูลจากการบริษัทเอกชนที่ทำการนำร่องระบบร่วมกับ กรมศุลกากร ในช่วงเดือนมกราคม - ธันวาคม ปี 2561 จากการศึกษาพบว่าระบบติดตามทางศุลกากรภายใต้เทคโนโลยีอีล็อก ในเขตปลอดอากร มีความคุ้มค่าในการลงทุนเมื่อเทียบกับเกณฑ์การตัดสินใจมาตรฐานและเกณฑ์การตัดสินใจที่ คาดหวัง อีกทั้งยังสามารถลดระยะเวลาในการทำงาน และสร้างความน่าเชื่อถือ เนื่องจากสามารถ ตรวจข้อมูลต่างๆ ผ่านระบบอัตโนมัติ การเคลื่อนย้ายของสินค้าสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง ระบบติดตามทางศุลกากรภายใต้เทคโนโลยีอีล็อกจึงเป็นอีกเครื่องมือที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และลดต้นทุนของผู้ประกอบการen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการวิเคราะห์ต้นทุน -- วิจัยen_US
dc.subjectการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.subjectเขตปลอดอากรen_US
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินของการลงทุนในระบบติดตามทางศุลกากร ภายใต้เทคโนโลยีอีล็อก ในเขตปลอดอากรen_US
dc.title.alternativeFinancial feasibility study of investment in customs tracking system through e-lock technology in customs free zoneen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis study investigated the use of tracking system under the e-lock technology in the customs clearance in the free zone in order to evaluate the possibility for the investment in the construction of such system. The project worthiness assessment and sensitivity analysis were employed in the evaluation, and the criteria included discounted payback period, net present value, and internal rate of return. The data were collected from a private company which piloted the tracking system along with the Thai Customs Department during January – December 2019. It was found that the tracking system under the e-lock technology was worth investing when two criteria, i.e. the decision-making standard and the expected decision making, were considered. Furthermore, through the automation system, the system could reduce the operation time, increase the reliability, and enhance the continuity of the transfer of goods and products. Thus, this system could be employed as a tool to increase the competitive ability. It could serve customers’ needs as well as decrease the operator’s cost effectivelyen_US
dc.description.degree-nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineเศรษฐกิจดิจิทัลen_US
Appears in Collections:EC-DE-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sawanya Wittayarotwong.pdf3.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.