Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/572
Title: ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้โซเชียลแบงก์กิ้งในประเทศไทย
Other Titles: Affecting factors on perception of social banking in Thailand
Authors: วรรณธนา ตุลาธนานันท์
metadata.dc.contributor.advisor: ธันย์พัทธ์ ใคร้วานิช
Keywords: บริการธนาคารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่;การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ -- ไทย;ระบบเงินสดอิเล็กทรอนิกส์;การรับรู้ของผู้บริโภค
Issue Date: 2563
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: This study aimed to investigate people’s perception towards the social banking and the impact of the social banking on people’s lives. Data were collected from the 801 samples, aged 20 years or above, who used Internet every day for at least 1 hour. The hypothesis was tested using Ordered Logistics Regression (OLR) statistics because the dependent variables were arranged in order based upon the levels of acceptance which were the highest level (3), the moderate level (2), and the lowest level (1). The dependent variables included genders, ages, education levels, occupations, average monthly income, average savings per month, social media tools, and knowledge scores. Among these variables, only the education levels and knowledge scores were significant. If the knowledge scores increased by 1 point, the acceptance of social banking would increase for 0.241. In addition, if there was an increase in the number of people having a bachelor’s degree, the acceptance of social banking would increase for 0.820. The R-Square of Cox and Snell was at .068. Therefore, the business owners should concern about the product designs and created the products that were accessible. This would help attract the attention from the users. In addition, since the education level and the knowledge scores had an influence on the acceptance of the social banking, the business owners should establish the marketing strategies which promoted the use of social banking among the secondary school and vocational school students as well
metadata.dc.description.other-abstract: การศึกษาเรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อการรับรู้โซเชียลแบงก์กิ้งในประเทศไทย ศึกษาจากผู้ที่ สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ทุกวันอย่างน้อยวันละ 1 ชั่วโมง และทําธุรกรรมการเงินผ่านช่องทาง ออนไลน์ได้ โดยมีอายุตั้งแต่ 20 ปี ขึ้นไป จํานวน 801 คน พบว่าการทดสอบสมมติฐานของ การศึกษาครั้งนี้ ใช้สถิติ Ordered Logistics Regression (OLR) เนื่องจากตัวแปรตามมีระดับการวัด แบบเรียงลําดับ คือ การยอมรับระดับน้อย (1) ปานกลาง (2) และมาก (3) ตัวแปรอิสระทั้งหมด อัน ประกอบไปด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน เงินออมเฉลี่ยต่อ เดือน เครื่องมือสื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้มากที่สุด และค่าคะแนนความรู้ พบว่าตัวแปรที่มีนัยสําคัญ มี เพียง 2 ตัวแปร ได้แก่ ค่าคะแนนความรู้ (SCORE) และระดับการศึกษา ซึ่งมีค่า R-Square ของ Cox & Snell เท่ากับ 0.068 หรือสามารถอธิบายตัวแปรตามได้เท่ากับ 6.8% โดยค่าคะแนนความรู้เพิ่มขึ้น เคะแนน จะส่งผลให้เกิดการยอมรับเพิ่มขึ้น 0.241 เท่า และระดับการศึกษาต่ํากว่าปริญญาตรี เมื่อ เปลี่ยนแปลงการศึกษาเพิ่มขึ้นเป็นระดับปริญญาตรี จะมีโอกาสในการยอมรับมากขึ้นเท่ากับ 0.820 เท่า ในขณะเดียวกันเมื่อมีการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้ว และมีการศึกษาเพิ่มขึ้นเป็นสูงกว่าปริญญา ตรี ไม่มีระดับนัยสําคัญ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องควรให้ความรู้และประชาสัมพันธ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ให้สะดวกและง่ายต่อการใช้งานจะส่งผลให้ผู้บริโภคสนใจใช้บริการโซเชียลแบงก์กิ้งมากขึ้น ใน ขณะเดียวกัน พบว่า การศึกษามีส่วนสําคัญต่อการยอมรับของผู้บริโภค ดังนั้นผู้ประกอบการควรมี การวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดที่จะเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคที่อยู่ในระดับมัธยม หรืออาชีวศึกษาทั่ว ประเทศด้วย
Description: วิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐกิจดิจิทัล)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563
metadata.dc.description.degree-name: เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: เศรษฐกิจดิจิทัล
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/572
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:EC-DE-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanthana Tulathananun.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.