Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/577
Title: | การจำลองสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อสองช่อง เพื่อควบคุมแขนกลแสดงท่าทางแบบต่อเนื่องเลียนแบบแขนมนุษย์ รูปแบบไร้สาย |
Other Titles: | A two-channel electromyogram-based robotic arm system: a continuously wireless control using simulated hand gesture patterns |
Authors: | ธวัชชัย จันทรัตน์ |
metadata.dc.contributor.advisor: | มนัส สังวรศิลป์ |
Keywords: | เครื่องมือแพทย์ -- วิจัย -- การผลิต;แขนกล -- การออกแบบและการสร้าง -- วิจัย;อุปกรณ์ชีวการแพทย์;ระบบสื่อสารไร้สาย -- การจัดการ -- เครื่องมือและอุปกรณ์ |
Issue Date: | 2563 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | งานวิจัยนี้เป็นการจำลองการเกิดสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อของมัดกล้ามเนื้อแขนส่วนปลาย ด้วยการกดสวิตช์ เพื่อศึกษาผลการจำลองสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อแขนสองช่องด้วยการใช้สวิตช์ 2 ช่อง เพื่อสร้างระบบควบคุมแขนกลจากการจำลองสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อให้มีการเคลื่อนที่ แบบต่อเนื่องด้วยรูปแบบไร้สาย ให้มีรูปแบบการทำงานเสมือนการทำงานของแขนมนุษย์ ซึ่งพัฒนา ต่อจากแขนกลที่มีในปัจจุบันซึ่งมีรูปแบบการเคลื่อนที่แบบเปิดและปิด มีข้อจำกัดในเรื่องขนาดและ รูปทรงของวัตถุที่แขนกลใช้หยิบจับ โดยเป้าหมายของงานวิจัยนี้เพื่อให้แขนกลสามารถหยิบจับวัตถุ ได้หลายขนาดและหลายรูปทรง และ กระทำท่าทางได้ 4 ท่าทาง ได้แก่ ท่าแบมือ ท่าหยิบจับวัตถุด้วย นิ้วทั้ง 5 นิ้ว ท่าหยิบจับวัตถุด้วย 3 นิ้ว และท่าชี้ตำแหน่ง สามารถกำหนดอัตราแรงกดวัตถุได้ด้วย ระบบตรวจวัดระดับแรงกด ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้ควบคุมแรงกดในการหยิบจับวัตถุได้อย่างเหมาะสม โดยใช้วิธีการควบคุมรูปแบบไร้สาย ได้ผลการวิจัยดังนี้คือ แขนกลสามารถหยิบจับวัตถุได้ หลากหลายรูปทรงและหลากหลายขนาด และ แสดงท่าทางการเคลื่อนที่แบบต่อเนื่องเสมือนแขน ของมนุษย์ 4 ท่าทางได้อย่างถูกต้อง คิดเป็นอัตราร้อยละ 97.77 สามารถนำผลงานวิจัยนี้เป็นแนวทาง สู่การใช้สัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อจริงเพื่อควบคุมแขนเทียมสาหรับผู้พิการ ให้สามารถดำรง ชีวิตประจำวันได้อย่างปกติสุข |
metadata.dc.description.other-abstract: | This research aims to conduct a simulation of the occurrence of electromyography signals in two groups of forearm muscles. Two switches were used to control the movement of the robotic arm continuously as to mimic hand gestures. This project is developed from a simple robotic arm with an ability of two movement directions for grasping restricted size and shape of object. The goal of this research is to enable the robot arm to pick up and hold various objects with different sizes, shapes and weights. The robot arm should be able to perform four hand gestures, including hand opening, object grabbing (using five and two fingers), and pointing with the index finger. The grasping pressure rate should be set automatically by wireless control to accommodate handling of objects with different levels of sensitivity. Test results demonstrate that the robotic arm can handle various shapes and sizes of objects and perform the four hand gestures with continuous control similar to human arm movement, with an accuracy of 97.77%. This research can be used as a guideline for applying actual electromyography signals to control artificial arms for disabled people who we can return to live routinely with a quality of life |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม. (วิศวกรรมชีวการแพทย์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 |
metadata.dc.description.degree-name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | วิศวกรรมชีวการแพทย์ |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/577 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | BioEng-BE-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thavatchai Chantarat.pdf | 2.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.