Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/588
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธันย์พัทธ์ ใคร้วานิช-
dc.contributor.authorสุณัฐฐา ทิมทอง-
dc.date.accessioned2022-02-18T08:48:22Z-
dc.date.available2022-02-18T08:48:22Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/588-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์ประยุกต์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลประชากรศาสตร์ กับระบบคะแนนความน่าเชื่อถือทางสังคมในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับความรู้ความเข้าใจ กับระบบคะแนนความน่าเชื่อถือทางสังคมในประเทศไทย เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ทฤษฎีที่เป็นฐานในการวิจัย คือ ทฤษฎีเกี่ยวกับระบบความน่าเชื่อถือทางสังคม ทั้งนี้เก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือจานวน 600 ชุดในการเก็บรวบรวม โดยมีประชากรทั่วไปที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปี เป็นต้นไป เนื่องจากว่า เป็นช่วงวัยที่กาลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมต้น ซึ่งมีความรู้ ความสามารถ และมีวิจารณญาณเพื่อวิเคราะห์ถึงกฎของการอยู่ร่วมกับผู้อื่นเป็นกลุ่มตัวอย่างของการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ร้อยละ การกระจายของข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการทดสอบแบบที (t-test) การทดสอบค่าเอฟ (F-test) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน (Spearman rank correlation coefficient หรือ Spearman’s rho) ผลการวิจัยพบว่าระดับการศึกษา รายได้ มีความสัมพันธ์กับระบบคะแนนความน่าเชื่อถือทางสังคมกับประโยชน์ด้านสินเชื่อ และเพศมีความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ด้านภาษีและบริการสาธารณะที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ระดับความรู้ความเข้าใจของผู้ตอบแบบสอบถามไม่มีความสัมพันธ์กับระบบคะแนนความน่าเชื่อถือทางสังคม ภาครัฐ การปกครองส่วนท้องถิ่น หรือชุมชนควรให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องระบบคะแนนความน่าเชื่อถือทางสังคมแก่ประชากร เพื่อเป็นการสร้างความคุ้นชิน และทาให้ประชากรเตรียมพร้อมที่จะรับมือกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นต่อไป ทั้งนี้จะทาให้ระบบดังกล่าวสาเร็จได้ ภาครัฐต้องสนับสนุน ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI technology) ที่ใช้ในการประมวลผล เกณฑ์การบันทึกคะแนนที่เป็นธรรม รวมถึงรางวัลแก่บุคคลที่ทาความดีและลงโทษแก่บุคคลที่กระทาผิดต้องมีคุณธรรม จริยธรรมของประเทศen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectสังคมไทยen_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงทางสังคมen_US
dc.subjectไทย -- ภาวะสังคมen_US
dc.titleคะแนนความน่าเชื่อถือทางสังคมใประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeSocial credit scoring in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research considered two relationships theoretically grounded in the social credibility system: (1) between demographics and social trust score systems and (2) between cognition levels and social credit score systems, both in Thailand. Data were collected using 600 questionnaires, targeting the general population aged 15 and older. The resulting data were statistically analysed to determine the relationships between constructs, but it appeared that the respondents’ level of cognition was not correlated with the social trust score system. The local government or community should develop an understanding of the population’s social trust rating system to clarify and to make the population prepared to cope with the problem, as this will ensure system success. The government must support the AI technology used in processing. The criteria for recording fair points, including rewarding persons who do good deeds and punishing the transgressors, must be moralen_US
dc.description.degree-nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineเศรษฐศาสตร์ประยุกต์en_US
Appears in Collections:EC-AE-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunattha Thimthong.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.