Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/597
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์-
dc.contributor.authorกฤตยชญ์ สมมุ่ง-
dc.date.accessioned2022-02-20T04:50:27Z-
dc.date.available2022-02-20T04:50:27Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/597-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (รัฐศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมการเลือกตั้ง และเปรียบเทียบปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกตั้ง วันที่ 24 มีนาคม 2562 กรณีศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 2 และเขตที่ 5 ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 399 ตัวอย่าง พบว่า ประชาชนเขตที่ 2 และเขตที่ 5 จังหวัดนครศรีธรรมราช ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยลงคะแนนเสียงจากปัจจัยด้านพรรคการเมือง มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ด้านตัวบุคคล และด้านปัจจัยการหาเสียง ผลการเปรียบเทียบปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกตั้ง พบว่า ประชาชนที่มีอาชีพ และเขตเลือกตั้งที่ต่างกันมีพฤติกรรมการเลือกตั้งแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05 ยกเว้น เพศ อายุ การศึกษา และรายได้ ต่างกัน มีพฤติกรรมการเลือกตั้งไม่แตกต่างกันen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectพฤติกรรมการเลือกตั้ง -- ไทย -- นครศรีธรรมราชen_US
dc.subjectการเลือกตั้ง -- การศึกษาเฉพาะกรณีen_US
dc.subjectสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร -- การเลือกตั้ง -- ไทย -- นครศรีธรรมราช -- 2562en_US
dc.titleพฤติกรรมการเลือกตั้ง วันที่ 24 มีนาคม 2562 กรณีศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 2 และเขตที่ 5en_US
dc.title.alternativeFactors influencing the election on March 24, 2019 a case study of the electoral district 2 and 5, Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis study aimed to investigate election behaviors and examine factors influencing the election on March 24, 2019 in Electoral District 2 and 5 in Nakhon Si Thammarat Province. Data were collected from 399 samples using questionnaires. It was found that the perspective towards the factors influencing election behavior in Electoral District 2 and 5 was at a highest level. The most influential factors were the political parties, followed by the candidates and the political campaigns, respectively. In addition, it was found that professions and electoral districts influenced election behavior with a statistical significance of 0.05. However, genders, ages, educational levels, and incomes did not influence election behavioren_US
dc.description.degree-nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineรัฐศาสตร์en_US
Appears in Collections:Political-Political-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Krittayot Sommung.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.