Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/630
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จอมเดช ตรีเมฆ | - |
dc.contributor.author | ลัทธจิตร มีรักษ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-02-20T07:17:03Z | - |
dc.date.available | 2022-02-20T07:17:03Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/630 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเรื่อง ราชประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาประเทศไทย นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่ได้จากการวิเคราะห์เอกสาร งานเขียนทางวิชาการที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับบทบาทในการพัฒนาประเทศไทยของพระมหากษัตริย์งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัย 3 ข้อ ดังต่อไปนี้ คือ1) เพื่อศึกษาความหมายของราชประศาสนศาสตร์และความสัมพันธ์กับรัฐประศาสนศาสตร์ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดราชประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาที่มีอยู่เฉพาะในประเทศไทย และ 3) เพื่อศึกษาแนวคิดราชประศาสนศาสตร์กับความเชื่อมั่นศรัทธาและความไว้วางใจ ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวคิดการพัฒนาประเทศไทยของพระมหากษัตริย์ ได้ใช้ราชประศาสนศาสตร์ ซึ่งหมายถึง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ที่รัฐบาล หน่วยงานราชการกองทัพและภาคเอกชนต่าง ๆ รับสนองไปปฏิบัติ รวมถึงการสนับสนุนงบประมาณและกำลังคนจากภาครัฐ กองทัพ ภาคเอกชนและเงินบริจาคของประชาชน รวมทั้งพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ด้วย 2) พระมหากษัตริย์ ได้พระราชทาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งเป็นผลผลิตของการออกเยี่ยมประชาชน โดยนาข้อมูลมาวิเคราะห์ วิจัย ทดลองปฏิบัติ และถูกขับเคลื่อนโดยรัฐประศาสนศาสตร์ซึ่งเป็นรูปแบบเฉพาะของประเทศไทย และ 3) เมื่อราชประศาสนศาสตร์กับรัฐประศาสนศาสตร์ ดำเนินคู่กันในการพัฒนาประเทศไทยโดยได้รับความเชื่อมั่นศรัทธาและความไว้วางใจจากทุกภาคส่วนแต่ก็ยังมีข้อโต้แย้งบ้าง แต่โดยภาพรวมนั้น ราชประศาสนศาสตร์ยังคงอยู่ต่อไปเพราะประชาชนยังมั่นใจว่า ราชประศาสนศาสตร์ จะทำเพื่อประชาชนอย่างแท้จริง และสิ่งที่ผู้วิจัยค้นพบจากงานวิจัยนี้ คือ ความหมายของราชประศาสนศาสตร์และแนวคิดที่จะมาอธิบายบริบทของการพัฒนาประเทศไทยได้อีกแนวคิดหนึ่งด้วย | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | รัฐประศาสนศาสตร์ | en_US |
dc.subject | การพัฒนาประเทศไทย | en_US |
dc.title | ราชประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Royal public administration and development of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This study employed the qualitative methods in which data were collected through a review of related documents and an interview with key informants. The objectives of this study were 1) to investigate the definitions of the ‘royal public administration’ and its relationship with the public administration, 2) to study the application of the ‘royal public administration’ in Thai contexts, and 3) to study the relation between the ‘royal public administration’ and public trust and loyalty. The results showed that the king had implemented the ‘royal public administration’ to develop the country as well as to solve his subjects’ problems. This concept referred to the royal initiative projects brought into actions by the government, state agencies, and private organizations. The term also referred to the budget and manpower support from the government sector and the army as well as the donation from the private sector, citizens, and the king himself. Furthermore, the king had publicly introduced the philosophy and established numerous royal initiative projects inspired by his visits to many areas in the country as well as his realization of the problems. The philosophy and the royal initiative projects could evidently lift the people out of poverty and improve their living quality. When the combination of ‘royal public administration’ and the public administration was implemented, it was found that the public trust in such administration was high since people truly believed that the ‘royal public administration’ would really benefit the country and the people despite some arguments concerning the operation of the royal initiative projects. To summarize, this study seeks to discover the forms and definitions of the term which could be a concept and theory for national development. | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง | en_US |
Appears in Collections: | CSI-LSBP-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Lattachit Meerak.pdf | 2.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.