Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/640
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวรรณ อัศวไพบูลย์-
dc.contributor.authorจตุพจน์ ศิลา-
dc.date.accessioned2022-02-21T06:44:44Z-
dc.date.available2022-02-21T06:44:44Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/640-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการโลจิสติกส์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงการจัดบินของนักบินในบริษัท ABC โดยก่อนปรับปรุงพบว่า มีศิษย์การบินที่ไม่สามารถจบการฝึกบินภาคอากาศและนักบินผู้ช่วยมีชั่วโมงบิน ไม่ครบตามที่ระเบียบของบริษัทได้กำหนดไว้ภายในระยะเวลา 6 เดือน จากการเก็บข้อมูลพบว่า การซ่อมบำรุงอากาศยานในหัวข้อ 25 Hrs Insp ในแต่ละครั้งมีขั้นตอนหลักในการปฏิบัติจำนวน 10 ขั้นตอน และใช้เวลาในการปฏิบัติทั้งหมด 409 นาที ทำให้ไม่สามารถนำอากาศยานมาใช้ทาการฝึกบินได้ภายในวันนั้น ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาดังที่กล่าวมาก่อนหน้า ทาให้กำไรที่บริษัทควรจะได้รับต่อปีลดลง 33.29% จึงประยุกต์ใช้ทฤษฎีการศึกษาการทำงาน และเทคนิค ECRS ทำการปรับลดเวลาในการซ่อมบำรุงจำนวน 8 ขั้นตอน ลดเวลาการซ่อมเป็น 248 นาที เมื่อนำมาทดสอบกับประวัติการจัดบินพบว่า ทำให้ศิษย์การบินฝึกบินได้จบหลักสูตรตามเวลาที่กำหนด แต่นักบินผู้ช่วยมีชั่วโมงบินน้อยกว่าที่กำหนดเฉลี่ยคนละ 33.26% และบริษัทมีกำไรเพิ่มขึ้น 33.29% จึงได้ทำการปรับรูปแบบตารางจัดบินเพิ่มเติม โดยเพิ่มเที่ยวบินอีก 1 เที่ยวบินในทุกวัน 1 รูปแบบ และเพิ่มเที่ยวบินอีก 1 เที่ยวบินเฉพาะวันอังคารและวันพฤหัสบดีอีก 1 รูปแบบ เมื่อนำผลที่ได้จากการลดเวลาซ่อมบำรุงร่วมกับการปรับรูปแบบตารางจัดบินไปทดสอบกับประวัติการจัดบินพบว่า การปรับลดเวลาซ่อมบารุงและปรับรูปแบบตารางจัดบินแบบเพิ่มเที่ยวบินอีก 1 เที่ยวบินในทุกวัน ทำให้ศิษย์การบินและนักบินผู้ช่วยมีชั่วโมงมีชั่วโมงครบตามที่บริษัทกำหนดเช่นกัน และบริษัทมีกำไรเพิ่มขึ้น 15.96 % ในขณะที่การปรับลดเวลาซ่อมบำรุงและปรับรูปแบบตารางจัดบินแบบเพิ่มเที่ยวบินอีก 1 เที่ยวบินเฉพาะวันอังคารและวันพฤหัสบดี ทำให้ศิษย์การบินฝึกบินได้จบหลักสูตรตามเวลาที่กำหนด นักบินผู้ช่วยมีชั่วโมงบินน้อยกว่าที่กำหนดเฉลี่ยคนละ 7.65% และบริษัทมีกำไรเพิ่มขึ้น 25.62 %en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการบิน -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.subjectโลจิสติกส์ -- การจัดการ -- ไทยen_US
dc.subjectการขนส่ง -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.titleการเพิ่มชั่วโมงฝึกบินจากการประยุกต์ใช้การปรับปรุงวิธีการทำงาน และการจัดตารางบิน กรณีศึกษา บริษัท ABCen_US
dc.title.alternativeการเพิ่มชั่วโมงฝึกบินจากการประยุกต์ใช้การปรับปรุงวิธีการทำงาน และการจัดตารางบิน กรณีศึกษา บริษัท ABCen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objective of this study is to improve flight scheduling of the pilots working at ABC Company. Before the improvement, there are the student pilots who cannot accomplish the flight training program, and the assistant pilots do not complete flight hours as required by the company’s regulations within 6 months. From the data collection, it revealed that there was a ten-stage procedure of each aircraft maintenance under the 25 Hrs Insp, with the operational time of 409 minutes, leading to the fact that the aircraft was unable to be used for flight training within the day of training. This resulted in the aforementioned problems, and the profit the company should earn per year decreased by 33.29%. Therefore, work study theory and ECRS technique were applied to the reduction of maintenance time to 8 steps together with the time to repair the aircraft of 248 minutes. When the mentioned theory and techniques were tested with the flight history, it was found that it could allow the pilot students to complete the course within specified time. However, the assistant pilots had flight hours with an average of 33.26% less than the specified flight hours, and the company gained more profit by 33.29%. Therefore, the flight scheduling was additionally adjusted by adding one more flight daily and adding one more flight on Tuesday and Thursday. After the results were tested with the flight history, it was revealed that the reduction of maintenance time and the addition of one more flight daily could allow the pilot students and the assistant pilots complete working hours as specified by the company, and profits of the company increased by 15.96%, while the reduction of maintenance time and the addition of one more flight on Tuesday and Thursday could allow the pilot students to complete the course within specified time, and the assistant pilots had flight hours with an average of 7.65% less than the specified flight hours, and the profits of the company increased by 25.62%.en_US
dc.description.degree-nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการจัดการโลจิสติกส์en_US
Appears in Collections:Grad-ML-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Flight Lieutenant Jatupot Sila.pdf22.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.