Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/673
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล-
dc.contributor.authorสุทธิพล เอี่ยมประเสริฐกุล-
dc.date.accessioned2022-02-25T07:02:23Z-
dc.date.available2022-02-25T07:02:23Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/673-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาและลักษณะการบริหารจัดการน้ำ2) ศึกษารูปแบบและองค์ประกอบการบริหารจัดการน้ำชุมชน และ 3) เปรียบเทียบรูปแบบและองค์ประกอบการบริหารจัดการน้ำที่ประสบความสำเร็จ เพื่อเสนอเป็นสารสนเทศประกอบการกาหนดนโยบายการบริหารจัดการน้ำชุมชนเพื่อการเกษตรอย่างยั่งยืนต่อไป โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน โดยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ผู้บริหารแหล่งน้ำ จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและวิธีเชิงปริมาณใช้เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชากรในพื้นที่ศึกษา จำนวน 801 ตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ผลการศึกษาพบว่าสภาพปัญหาสาคัญเกิดจากสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงและการบริหารงานตามโครงสร้างของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังขาดความยืดหยุ่นในการดำเนินงานรวมถึงขาดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ ส่วนรูปแบบและองค์ประกอบสำคัญในการบริหารจัดการน้ำควรเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในรูปแบบการพัฒนาที่ทำควบคู่กันระหว่างพัฒนาสภาพแวดล้อมแหล่งน้ำกับพัฒนาระบบบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม เน้นให้ประชาชนรวมกลุ่มบริหารจัดการน้ำที่มีอยู่จำกัดให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในพื้นที่ และแบ่งปันน้ำส่วนเกินให้กับพื้นที่ข้างเคียง โดยผลการเปรียบเทียบการบริหารแหล่งน้ำแต่ละโครงการพบว่า มีระบบการบริหารจัดการจากส่วนกลางที่สอดคล้องกัน แต่ส่วนที่แตกต่างกัน คือ กลไกการมีส่วนร่วมจากภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชนในแต่ละพื้นที่ โดยเฉพาะการเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น การติดตามประเมินผลที่เป็นไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ดังนั้นแนวทางการกำหนดนโยบายบริหารจัดการน้ำชุมชนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากจะเน้นการสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนแล้ว ควรน้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาประยุกต์ใช้ ด้วยการพัฒนาแหล่งน้ำควบคู่กันไป เพื่อยกระดับรายได้ชุมชนร่วมด้วยen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการจัดการน้ำen_US
dc.subjectเกษตรกร -- รายได้en_US
dc.subjectผลิตผลเกษตร -- รายได้en_US
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียง -- เกษตรกรen_US
dc.titleการบริหารจัดการน้ำชุมชนเพื่อยกระดับรายได้ภาคการเกษตรen_US
dc.title.alternativeCommunity water management for promoting of income in agricultural sectoren_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed to investigate the conditions and problems of water management, to explore the characteristics and elements of community water management, and to compare those characteristics and elements against the community water management with successful practice for the implementation of sustainable community water management for agriculture. The research applied mixed methods. The qualitative data were collected from interviews with 20 people responsible for administrating water management, and the quantitative data were collected through questionnaires answered by 801 respondents living in the target area. The quantitative data were analyzed using descriptive statistics. The results revealed that problems of community water management were caused by environmental changes, administrative infeasibility caused by the ineffective organizational structure, and lack of participation in problem-solving activities. Water management should be participated by all sectors, especially in the improvement of the environment of water sources and the water management system. People should gather to manage water to meet the environment in the area and share their unused water to other areas. According to the comparative study of the water management systems among projects, it was found that they were similar to the central water management system. The study found difference in forms of participation in each area, especially the opportunity for public opinions and the continuity and the sustainability of the follow-up process applied in water management. Finally, the research recommended the application of the principle of King Bhumibol’s science – “understanding, accessibility, and development” – to the improvement of water sources to increase the community’s agricultural income.en_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineรัฐประศาสนศาสตร์en_US
Appears in Collections:PAI-PA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sutthipol Iamprasertkul.pdf7.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.