Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/685
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorติน ปรัชญพฤทธิ์-
dc.contributor.authorนันทพร อัศวกุลไพโรจน์-
dc.date.accessioned2022-03-01T03:42:12Z-
dc.date.available2022-03-01T03:42:12Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/685-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษา แนวทางการพัฒนาและระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลนครรังสิต โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative research)และการวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research)กับประชาชนในเขตชุมชนพื้นที่เทศบาลนครรังสิตจำนวน 398 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลนครรังสิต 2) ศึกษาความความต้องการและข้อเสนอแนะของประชาชนเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลนครรังสิต 3) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลนครรังสิต ผลการวิจัย พบว่า 1) การมีส่วนร่วมกับการบริหารงานของทางเทศบาลนครรังสิต โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจาราณารายด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดได้แก่ ด้านมาตรฐานการให้บริการ(= 3.67 , S.D.=0.80) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านการถูกชี้ข้อมูลความผิด(= 3.15 , S.D.=0.77) และปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ และระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กันกับ ด้านนโยบายและการจัดกิจกรรม อายุและระยะเวลาพักอาศัยมีความสัมพันธ์กับระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนด้านนโยบายและการจัดกิจกรรมและด้านเปิดเผยข้อมูลและการมีส่วนร่วม ระยะเวลาพักอาศัยมีความสัมพันธ์กันกับระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในด้านการถูกชี้ข้อมูลความผิดในนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) ประชาชนมีความต้องการให้เทศบาลทารูปแบบการประชาสัมพันธ์ให้เข้าใจง่ายและเข้าถึงประชาชนได้มากขึ้น เทศบาลจัดกิจกรรมเพื่อให้ความรู้ในวิธีการเข้าถึงข้อมูลประชาสัมพันธ์และข้อมูลของภาครัฐให้ง่ายขึ้น และต้องการให้ภาคเอกชนมีความร่วมมือกับทางเทศบาลและทางชุมชนในพื้นที่ให้มากขึ้น 3) แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลนครรังสิต จะสามารถลดช่องว่างการทำงานระหว่างภาครัฐและประชาชนให้ใกล้ชิดกันมากขึ้น โดยการส่งเสริมและกระตุ้นประชาชนให้หระหนักถึงหน้าที่และความสำคัญของการมีส่วนร่วมกับภาครัฐเพื่อประโยชน์ของชุมชนมากยิ่งขึ้นen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectหลักธรรมาภิบาลen_US
dc.subjectธรรมรัฐ -- ปทุมธานี -- ธัญบุรีen_US
dc.subjectธรรมรัฐ -- การมีส่วนร่วมของประชาชนen_US
dc.titleแนวทางพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลนครรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานีen_US
dc.title.alternativeGuideline towards people’s participation development in accordance with good governance principles of Rangsit City Municiality, Thanyaburi Distriict, Pathumthani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe study aimed to study guideline and level of public participation towards administration asgood governance of Rangsit Municipality by quantitative and qualitative research with 398 people inRangsit municipality area. The purposes of this study were as follows 1) to study factor that had impacted on public participation in the administration as good governance of Rangsit Municipality; 2) study people’s demand and suggestion to be a guideline for the administration as good governance of Rangsit Municipality; and 3) to propose guideline on public participation in the administration as good governance of Rangsit Municipality. The study showed that 1) The overall of participating in the administration of Rangsit municipality was moderate. The highest mean score was obtained from the standard of service. (= 3.67 , S.D.=0.80) The least mean score was pointing out guilty information. (= 3.15 , S.D.=0.77) Personal factors showed that sex, age and level The study was related to policies. Activities and duration of residence were correlated with levels of public participation, policy and activity. Disclosure of information and participation in duration of residence were correlated with levels of public participation in pointing out guilty information, the statistical significance was 0.05. 2)Population needs the municipality to make public relations easier to understand and reach out to the public more. The municipality should have an event to provide knowledge on how to access information, public relations and government information easily. People need the private sector to cooperate more with the municipality and community in the area. 3)The guideline for public participation towards administration as good governance of Rangsit Municipality could reduce the gap between the government and the people to be closer by encouraging and promoting people to pay more attention to the role and importance of engaging with the public sector for the betterment of the communityen_US
dc.description.degree-nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineรัฐประศาสนศาสตร์en_US
Appears in Collections:PAI-PA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nuntaporn Assawakulpriroj.pdf4.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.