Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/690
Title: การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดำรงชีวิต : กรณีศึกษา กำลังพลวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
Other Titles: Applicability of the sufficiency economy philosophy for living a life : a case study of Military Officials of National Defence College, National Defence Studies Institute
Authors: วารุณี ชุตินันทกุล
metadata.dc.contributor.advisor: ติน ปรัชญพฤทธิ์
Keywords: เศรษฐกิจพอเพียง;ปรัชญเศรษฐกิจพอเพียง;การดำรงชีวิต
Issue Date: 2561
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจของกำลังพลสังกัดวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ เกี่ยวกับหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2) เพื่อทราบแนวการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดำรงชีวิต ของกำลังพลวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ 3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อขัดข้องในการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดำรงชีวิต ของกาลังพลวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ โดยประชากรที่ศึกษาวิจัย คือ กำลังพลทั้งหมดของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ จานวน 140 คน ผลการศึกษาพบว่า กำลังพลของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับมาก และมีการนำหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตอยู่ในระดับที่มากเช่นกัน ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้ ควรให้ความรู้ ส่งเสริมปลูกฝั่งให้กำลังพลเห็นถึงประโยชน์ความสำคัญ และคุณค่าของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตสำเร็จ
metadata.dc.description.other-abstract: The aims of this research were to: 1) study the knowledge and understanding of the officials under the National Defence College, National Defence Studies Institute on the principle of the sufficiency economy philosophy, 2) understand how they applied such philosophy of sufficiency economy for their living, and 3) investigate problems and obstacles of the application. The population was 140 officials of the National Defense College. It was found that the officials’ knowledge and understanding of the principle of the sufficiency economy philosophy was at a high level, having adopted the philosophy at a high level. It was suggested that the officials should be provided training and encouraged to realize the benefits and importance as well as the value of the sufficiency economy philosophy so that they could live their life successfully
Description: วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561
metadata.dc.description.degree-name: รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: รัฐประศาสนศาสตร์
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/690
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:PAI-PA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Warunee Chutinanthakun.pdf4.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.