Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/691
Title: | ประสิทธิผลการจัดเก็บรายได้ของเทศบาลเมืองศรีสะเกษ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ |
Other Titles: | Effectiveness of revenue collection of Sisaket Municipality, Mueang District, Sisaket Province |
Authors: | ผดุงศักดิ์ ทวนสูงเนิน |
metadata.dc.contributor.advisor: | ติน ปรัชญพฤทธิ์ |
Keywords: | การจัดเก็บภาษี -- ศรีสะเกษ;รายได้ -- ศรีสะเกษ;การจัดการรายได้ |
Issue Date: | 2561 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิผลการจัดเก็บรายได้ของเทศบาล เมืองศรีสะเกษ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อ ประสิทธิผลการจัดเก็บรายได้เทศบาลเมืองศรีสะเกษ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือประชาชนในเขตเพื่อที่เทศบาลเมืองศรีสะเกษ จานวน 400 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิผลการจัดเก็บรายได้ของเทศบาลเมืองศรีสะเกษ อำเภอเมือง จังหวัด ศรีสะเกษ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ในขณะรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านงบประมาณ ( 4.44,S.D.=0.705) ด้านสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ ( = 4.38,S.D.=0.711) ด้านบุคลากร ( = 4.29,S.D.=0.891) และด้าน โครงสร้างภาษีและการบริหารจัดการ ( = 4.27,S.D.=0.769) 2) ประสิทธิผลการจัดเก็บรายได้ของ เทศบาลเมืองศรีสะเกษจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ไม่มีความแตกต่างกันในด้านเพศ ด้านอายุ ด้าน อาชีพ และมีความแตกต่างกันในด้านระดับการศึกษา ด้านรายได้ต่อเดือน ด้านประเภทภาษีที่ชาระ 3) ข้อเสนอแนะโดยภาพรวม ควรปรับปรุงแก้ไขด้านโครงสร้าง เพิ่มกรอบอัตรากำลังพนักงาน สร้างขวัญกำลังใจแก่พนักงาน ปรับปรุงกฎหมายหรือระเบียบให้มีความชัดเจน และควรมีการ ประชาสัมพันธ์แก่ประชาชน |
metadata.dc.description.other-abstract: | This quantitative research aims to 1) investigate the efficiency of the income collection of Sisaket Municipality, Meuang District, Sisaket Province and 2) to compare the public’s opinions towards the income collection among individual factors. The subjects were 400 people living in Sisaket Municipality, Meuang District, Sisaket Province. The research instrument was a set of questionnaires. The data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, t-test, and One-Way ANOVA. The result revealed that the overall efficiency of the income collection was at a high level. Each factor displayed its mean at a high level, too. The highest mean score was displayed by budget ( = 4.44, S.D.=0.705), followed by place and facilities ( = 4.38,S.D.=0.711), personnel ( = 4.29,S.D.=0.891), and tax structure and its management ( = 4.27,S.D.=0.769). The means of the efficiency of the income collection among individual factors including gender, age, and occupation were not significantly different. However, the mean scores displayed by education, salary/monthly income, and tax types were significantly different. The suggestion included the structural improvement, the increase of personnel, personnel promotion, amendment of regulations, and the improvement of public relations strategies. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561 |
metadata.dc.description.degree-name: | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | รัฐประศาสนศาสตร์ |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/691 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | PAI-PA-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Padungsak Tuansungnoen.pdf | 2.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.