Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/714
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนัส สังวรศิลป์-
dc.contributor.authorรวิพล โชติกุลนันท-
dc.date.accessioned2022-03-02T02:47:57Z-
dc.date.available2022-03-02T02:47:57Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/714-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม. (วิศวกรรมชีวการแพทย์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561en_US
dc.description.abstractในปัจจุบันเครื่องพิมพ์สามมิติได้ถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมหลายชนิดโดยในงานวิจัยนี้ จะนำเครื่องพิมพ์สามมิติมาใช้ในการขึ้นรูปอวัยวะแบบจำลองสามมิติเพื่อที่จะให้แพทย์สามารถ นำเอาอวัยวะแบบจำลองสามมิติที่ได้ไปวิเคราะห์ วินิจฉัยโรคและอื่น ๆ โดยที่ภาพอวัยวะภายใน ร่างกายที่ใช้จะได้มาจากเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่ทำการถ่ายภาพแบบตัดขวางโดยมีจำนวน ทั้งหมด 813 ภาพ ขนาด 512 × 512 พิกเซล มีค่าระดับเทา 12 บิท ภาพที่ได้นี้จะถูกนำมาสร้างเป็น ภาพสามมิติโดยใช้ซอฟต์แวร์ Mimic โดยจะนำเอาอวัยวะที่ถูกสร้างเป็นแบบจำลองสามมิติมาเข้า เครื่องพิมพ์สามมิติ และเพื่อให้ได้รูปทรงของอวัยวะที่สนใจนั้น จำเป็นที่จะต้องนำภาพทั้งหมดนี้มา เข้ากระบวนการการประมวลผลภาพ เนื่องจากถ้านำเอาอวัยวะแบบจำลองสามมิติที่ได้จากภาพมาเข้า เครื่องพิมพ์สามมิติโดยตรงจะเกิดชิ้นส่วนขนาดเล็กกระจายตัวอยู่ทั่วไป ด้วยเหตุนี้จึงใช้กระบวนการ การประมวลผลภาพโดยนาภาพมาทำการกรองแบบมัธยฐานเพื่อลบสัญญาณรบกวนออกโดยใช้ ซอฟต์แวร์ Matlab แล้วทา การลบส่วนที่ไม่สนใจอื่น ๆด้วยเครื่องมือลบ ซึ่งจะใช้เวลาที่สั้นที่สุด ก่อนที่จะทำการเปรียบเทียบโดยใช้หน้าต่างการกรองแบบ “3 × 3” “5 × 5” “7 × 7” และ “9 × 9” สรุปได้ว่าการใช้หน้าต่างการกรองมัธยฐานแบบ 3 × 3 จะให้ภาพที่ยังคงพื้นที่ที่สนใจเอาไว้มากที่สุด และใช้ระยะเวลาในการประมวลผลสั้นที่สุด ซึ่งได้ทำการทดสอบโดยใช้ภาพตัดขวางของผู้ป่วยเพื่อ สร้างโมเดลอวัยวะแบบจำลองสามมิติของเนื้อเยื่อ โครงกระดูกและหัวใจโดยคาดว่ากระบวนการนี้ อาจมีความพร้อมสาหรับนำไปใช้งานในทางคลินิกได้en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ -- วิจัยen_US
dc.subjectอวัยวะ -- การสอนด้วยสื่อen_US
dc.subjectเครื่องพิมพ์สามมิติen_US
dc.subjectหุ่นจำลองทางการแพทย์ -- การออกแบบและการสร้างen_US
dc.titleการสร้างโมเดลอวัยวะสามมิติโดยใช้ตัวกรองแบบมัธยฐานควบคู่กับการใช้เครื่องมือลบก่อนการขึ้นรูปด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติen_US
dc.title.alternativeCreating organ 3D model by using the median filter coupled with erase to creating organ using 3D printeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractCurrently three-dimensional (3D) printers are used successfully in many industries. In this research, we develop a system for creating personalized 3D model organs from patient images. This will assist the physician to analyze, diagnose, and educate the patient before carrying out any invasive procedures. The internal organs of the body are taken from the computerized tomography by cross-sectional imaging. There are 813 images, 512 × 512 pixels, gray level 12 bit. These images will be reconstructed into a 3D model using Mimic software. In this software the organ shape is isolated from surrounding tissue by selecting density thresholds. However, Salt and Pepper Noise contaminating these images prevents accurate printing of 3D organ models. In order to remove this interference, we developed an image processing protocol based on the Median filter. Images were imported into Matlab where the Median filter was applied. The performance of 3 × 3, 5 × 5, 7 × 7 and 9 × 9 pixel matrix filters was compared in terms of processing time and image fidelity. In conclusion, the 3 × 3 Median filter window provided the optimum solution, reliably generating the best image in the shortest processing time without loss of detail. Any remaining interference can be deleted using the Erase Tool. This method has been tested using patient scans to generate realistic 3D organ models of skeletal and cardiac tissues, and this process may be ready for clinical adoption.en_US
dc.description.degree-nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineวิศวกรรมชีวการแพทย์en_US
Appears in Collections:BioEng-BE-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rawiphon Chotikunnan.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.