Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/761
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมรรัฎค์ เจริญโชติธรรม-
dc.contributor.authorธัญญวีร์ ชูรัตนสูตร-
dc.date.accessioned2022-03-02T07:41:24Z-
dc.date.available2022-03-02T07:41:24Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/761-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นิเทศศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาว่ากระบวนการสื่อสารในการสอนให้บุคคลเข้าสู่วงการบันเทิงนั้นเป็นอย่างไร โดยศึกษาจากสถาบันสอนการแสดงบ้านดารา เป็นกรณีศึกษา ผู้วิจัยจึงกำหนดวัตถุประสงค์ไว้ 3 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของสถาบันสอนการแสดงบ้านดารา 2) เพื่อวิเคราะห์คุณลักษณะ ของสถาบันสอนการแสดงบ้านดารา และ 3) เพื่อศึกษาถึงกระบวนการสื่อสารเพื่อส่งเสริมการเข้าสู่วงการบันเทิงของนักแสดง ผลการวิจัยพบว่า สถาบันสอนการแสดงบ้านดารา เป็นสถาบันสอนการแสดงที่ไม่เน้นเชิงพาณิชย์ ซึ่งแตกต่างจากสถาบันสอนการแสดงอื่นๆ ดังนั้น จึงมีกระบวนการสื่อสารเพื่อสอนและส่งเสริมลูกศิษย์ให้เข้าสู่วงการบันเทิงอย่างมีคุณภาพและมีคุณธรรม ผ่านการสอนใน 5 วิชา คือ วิชาการแสดง, วิชาคิวบู้, วิชาการเต้น, วิชาการเดินแบบ และ วิชาการร้องเพลง และเน้นการสื่อสารเพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้ใน 2 ส่วนสำคัญ คือ 1) ความรู้ด้านการแสดง 2) ความรู้เรื่องการใช้ชีวิตในวงการบันเทิง ซึ่งมีกระบวนการสอนด้วยเทคนิคต่างๆ และที่สำคัญคือ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครูกับศิษย์ ซึ่งเป็นสายสัมพันธ์ที่ก่อให้เกิดงานอาชีพที่มั่นคงและอยู่ในวงการบันเทิงได้นานen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectสถาบันสอนการแสดงบ้านดารา -- วิจัยen_US
dc.subjectการสื่อสาร -- การฝึกภาคปฏิบัติ -- วิจัยen_US
dc.subjectนักแสดงen_US
dc.subjectการสร้างแบรนด์บุคคลen_US
dc.subjectธุรกิจบันเทิง -- ไทยen_US
dc.titleกระบวนการสื่อสารเพื่อส่งเสริมการเข้าสู่วงการบันเทิงของนักแสดง : กรณีศึกษา สถาบันสอนการแสดงบ้านดาราen_US
dc.title.alternativeThe process of entertainer in entertainment industry: case study of Bandara Acting Academyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research is qualitative research. The purpose is to find out the communication process about the people entering the entertainment industry by studying from the School Performance Bandara. As a case study, the research determines objectives 3 reasons 1) to study the history of the School performance Bandara 2) to analyze the characteristics of School Performance Bandara 3) to study the communication process in order to encourage entering the entertainment industry of actors. The research found that School Performance Bandara is a School performance that doesn’t focus on commercial like the other schools. Therefore, there is a communication process to teach and encourage students to enter the entertainment industry with quality and integrity through teaching in five subjects, stunt subject, dance subject, modeling subject and singing subject and focus on the communication to encourage the knowledge of two major parts 1) Knowledge of the performance. 2) Knowledge about life in the entertainment industry that has process of teaching in various techniques and the important technique is the relationship between teachers and students that cause the work stable and stay in the entertainment industry for a long time.en_US
dc.description.degree-nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineนิเทศศาสตร์en_US
Appears in Collections:CA-CA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tanyawee Chooruttanasutr.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.