Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/823
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดลฤทัย บุญประสิทธิ์-
dc.contributor.authorศิวะพร คูสวัสดิ์-
dc.date.accessioned2022-03-03T05:56:06Z-
dc.date.available2022-03-03T05:56:06Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/823-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด. (การศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตราสินค้ากับความอ่อนไหวด้านการตลาด ของหลักสูตรนานาชาติ ในระดับปริญญาเอก ในประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้เรียนระดับปริญญาเอกในมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน จำนวน 400 คน ด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก สถิติที่ใช้วิเคราะห์ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson's Correlation Coefficient) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบหลายตัวแปร (MANOVA) ผลการวิจัยพบว่า คุณค่าในตราสินค้า และวัฒนธรรมของตราสินค้ามีความสัมพันธ์ต่อความอ่อนไหวทางการตลาดต่อตราสินค้ามากที่สุด ดังนั้น หากมหาวิทยาลัยไทยให้ความสำคัญในการสร้างคุณค่าในตราสินค้าและนำเสนอวัฒนธรรมของหลักสูตรนานาชาติให้ผู้เรียนได้รับรู้อย่างเหมาะสมและต่อเนื่องก็จะสามารถที่จะช่วยให้หลักสูตรนานาชาติเป็นที่ยอมรับของผู้เรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ในส่วนของปัจจัยส่วนบุคคลอันได้แก่ อายุ ภูมิลำเนาของผู้เรียน สายคณะที่เรียน สาขาวิชาที่เรียน การทำงานขณะที่เรียนอยู่ อาชีพ และวัตถุประสงค์ที่ตัดสินใจเรียนต่อหลักสูตรนานาชาติ มีผลต่อตราสินค้าและความอ่อนไหวด้านการตลาดของหลักสูตรนานาชาติในระดับปริญญาเอกของประเทศไทยen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectชื่อตราผลิตภัณฑ์en_US
dc.subjectปริญญาเอก -- การศึกษาและการสอน -- ไทยen_US
dc.subjectการศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- วิจัย -- ไทยen_US
dc.subjectหลักสูตรนานาชาติen_US
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตราสินค้ากับความอ่อนไหวด้านการตลาดของหลักสูตรนานาชาติ ระดับปริญญาเอกในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeThe relationship between brand and marketing sensitivity of international doctoral programs in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research is a quantitative study that aimed to examine the relationship of brand and marketing sensitivity of the international doctoral programs in Thailand. Convenient sampling was conducted and questionnaires were used to collect data from 400 students of international doctoral programs both form public and private universities in Thailand. Data was analyzed by using frequency, percentage, mean, and standard deviation, Pearson's correlation coefficient and Multivariate Analysis of Variance (MANOVA). It was found that the relationship of brand value and culture and marketing sensitivity of international doctoral programs in Thailand were most positively correlated. It was implied that the more of the clear brand value and culture of the international doctoral programs the more acceptance would become by the students. In terms of factors effecting the brand of the international doctoral programs, it was shown that there were statistically significant differences on age, hometown, majors and branches of educations, job held while studying, professions, and the goals obtained, respectively, with the sensitivity of the brand for which programs to choose.en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU-ES-D-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siwaporn Khoosawat.pdf4.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.