Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/859
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อวิรุทธ์ เจริญทรัพย์ | - |
dc.contributor.author | บุศราคัม ชมชื่น | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-04T03:42:52Z | - |
dc.date.available | 2022-03-04T03:42:52Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/859 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการสร้างสื่อแอนิเมชันสามมิติ แนวศิลปะ Pop Art สะท้อนปัญหาความขัดแย้งในสังคมชุมชนเพื่อนบ้านโดยผู้จัดทาได้ศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับศิลปะ Pop Art จากสื่อภาพยนตร์แอนิเมชัน หนังสือ หรืออินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างแอนิเมชันเรื่องนี้ ซึงมีแรงบันดาลใจมาจากความเป็นศิลปะที่สะดุดตา แปลกตาไปจากศิลปะอื่นๆ ด้วยเทคนิคที่นามาใช้ในผลงาน และยังเป็นศิลปะล้อสังคม ให้เห็นสภาพแท้จริงของสังคมในปัจจุบัน และยังได้นาเทคนิค Toon Shade มาใช้ในงานเพื่อให้ออกมาเสมือนภาพสองมิติที่คล้ายศิลปะ Pop Art ซึ่งเนื้อเรื่องจะพูดถึงสังคมที่กาลังขัดแย้งกันให้กลับมาความสามัคคีกันอีกครั้งและสร้างจิตสานึกให้กับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเด็กมหาลัยคณะศิลปกรรมศาสตร์ อายุ 18-25 ปี จานวน 50 คน ที่กาลังอยู่ในช่วงศึกษาหาความรู้ด้านศิลปะ โดยการให้กลุ่มเป้าหมายรับชมภาพยนตร์แอนิเมชันและทาแบบสอบถาม จากผลการวิจัย ตามเทคนิคต่างๆในการสร้างสื่อแอนนิเมชันมีความสาคัญที่จะสามารถเชื่อมโยงระหว่างผู้สร้างสื่อแอนิเมชันกับผู้รับชมได้ การใช้เทคนิคที่แปลกใหม่สามารถดึงดูดความสนใจจากผู้รับชมได้เช่นกัน | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์แอนิเมชั่น -- การออกแบบ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์สามมิติ -- การออกแบบ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ป๊อปอาร์ต | en_US |
dc.subject | ศิลปะกับสังคม -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ความขัดแย้งทางสังคม -- ไทย -- วิจัย | en_US |
dc.title | การออกแบบสื่อแอนิเมชันสามมิติ แนวศิลปะ Pop Art: สะท้อนปัญหาความขัดแย้งในสังคมชุมชนเพื่อนบ้าน | en_US |
dc.title.alternative | Production design of 3D animation in pop art: reflecting the conflicts in neighborhood community | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research has an opportunity to study Production design of 3d animation in Pop Art: Reflecting the conflicts in neighborhood community problem. The project’s investigator conducts a studying process by collecting information on Pop art culture in animation books or the internet in order to use them as references for an animation production. Furthermore, this animation was inspired from impact effects of art that it is the difference from other art by its production technique, and its typology in caricature style also represents the reality of modern society. This animation also was produced in a “Toon Shade” technique in order to make its style looks similar to the Pop art style. The content of this animation represented a will for a conflict society to be united once again and also to provide a sense of awareness of the content to specimens; they are students or college students from 18 to 25 years old and there are 50 persons who are also spending their time studying as a primary duty. The investigator let specimens watched the animation and filled up questionnaires. The result of the research shows that animation production techniques are important that they can create a relationship between producers and audiences by using a new production technique that attracts the audiences. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | คอมพิวเตอร์อาร์ต | en_US |
Appears in Collections: | DIA- ComArt-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Bussarakum Chomchuen.pdf | 3.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.