Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/861
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรรณเพ็ญ ฉายปรีชา | - |
dc.contributor.author | วริทธนันต์ ฉัตรชุติกิจภิญโญ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-04T03:48:23Z | - |
dc.date.available | 2022-03-04T03:48:23Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/861 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561 | en_US |
dc.description.abstract | โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสร้างภาพยนตร์แอนิเมชันสั้นสามมิติและศึกษา ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างภายหลังจากชมสื่อที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยศึกษาการออกแบบจากศิลปะ รูปแบบไทยประเพณี และแบบไทยร่วมสมัย เพื่อผู้ชมอายุตั้งแต่ 9-15 ปี จำนวน 40 คน กระบวนการ ทำงานใช้วิธีศึกษาจากงานศิลปกรรมไทยทั้งสองประเภท เช่น จิตรกรรมและประติมากรรมภายใน วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย รวมไปถึงการ์ตูน ภาพยนตร์แอนิเมชัน ของไทย และต่างชาติ เช่น ภาพยนตร์แอนิเมชันสามมิติ เรื่อง พระมหาชนก (2014), Sanjay’s Super Team (2015) โดยนา ศิลปะรูปแบบประเพณีที่มีลักษณะงานเป็นภาพ 2 มิติซึ่งมีเพียงด้านกว้างและ ยาว มาสร้างเป็นภาพยนตร์แอนิเมชันแบบ 3 มิติที่มีความลึกและทำให้เกิดมิติภาพที่สมจริง รวมถึง การออกแบบที่เป็นสากล ด้วยการลดทอนรายละเอียดที่เน้นการออกแบบรูปทรงที่แสดงออกถึง ลักษณะของตัวละครนั้น ๆ แทนการใช้รูปทรงตามอุดมคติแบบประเพณีที่ตัวละครมักจะมีรูปร่าง คล้ายๆกัน แต่ยังคงไว้ซึ่งความเชื่อทางศาสนาที่แสดงออกถึงความเป็นไทยแบบประเพณีแฝงไว้ใน เนื้อเรื่อง โดยนำมาออกแบบใหม่ภายใต้โครงสร้างการออกแบบแอนิเมชัน ซึ่งประกอบไปด้วย เทคนิคการสร้างภาพยนตร์แอนิเมชัน องค์ประกอบภาพ การเขียนบท และการใช้เสียงประกอบ รวมถึงการศึกษาเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิต โดยการนำเสนอชิ้นงานใช้รูปแบบการถ่ายทอด เนื้อหาและเหตุการณ์ที่เหนือจริง เพื่อให้เกิดความแปลกใหม่ และน่าติดตาม ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างเข้าใจเนื้อหาและมีความพึงพอใจต่อด้านเทคนิคและการรับชม ภาพยนต์ ในเกณฑ์ดีมาก โดยการนำเทคนิคภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ มาใช้ในการถ่ายทอดรูปแบบของ ศิลปะไทยประเพณีและแบบไทยร่วมสมัย ทำให้กลุ่มตัวอย่างมีความสนใจศิลปะไทยมากยิ่งขึ้น | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์แอนิเมชั่น -- การออกแบบ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์สามมิติ -- การออกแบบ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ประเพณีไทย | en_US |
dc.subject | ศิลปกรรมร่วมสมัย -- ไทย -- วิจัย | en_US |
dc.title | โครงการออกแบบภาพยนตร์แอนิเมชันสั้น 3 มิติ จากศิลปะรูปแบบไทยประเพณีสู่ศิลปะรูปแบบไทยร่วมสมัย | en_US |
dc.title.alternative | Project of 3D animated short film design from Thai traditional art from to contemporary art from | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This project aims to study the three-dimensional (3D) animated short film and the study satification of sample after watching animation movie is created by research through the design of Thai traditional art and Thai contemporary art for audiences between 9-15 years 40 people. The process of study is from Thai art works both of traditional and contemporary patterns especially painting and sculpture inside Wat Pra Si Rattana Satsadaram (the Temple of the Emerald Buddha), Museum of Contemporary Art (MOCA) , including the animated cartoon movies in Thai films and foreign films such as 3D animation on the story of Mahajanaka (2014), Sanjay's Super Team(2015). As mentioned, the principles design Thai traditional art is 2D graphic design that has movement and is represented in the height and width dimensions that is used to create 3D animation that have depth dimension and photorealistic including Universal Design that Reduce detail and stress the design of the character that expresses the character instead of the traditional shape of the character always have the same shape but there still is a religious belief that expresses traditional Thai in the story and concepts will be analyzed to renew the design under animation structure which is comprise of the film animation techniques, visual elements, scriptwriting, sound effect and also learning about all production. Moreover, there is a form of surreal content and situation to make the novelty and enthralling. The researching results found that the sample had satisfied by watching thai contemporary art animation and they had more interest in thai art than before. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | คอมพิวเตอร์อาร์ต | en_US |
Appears in Collections: | DIA- ComArt-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Warittanun Chatchutikitpinyo.pdf | 4.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.