Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/886
Title: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนพื้นที่ชายทะเลบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร
Other Titles: Development plan for sustainable tourism of Bangkuntien, Bangkok
Authors: นฤพนธ์ ไชยยศ, กฤตพร ลาภพิมล
ธิดารัตน์ ทัศจันทร์
มหาวิทยาลัยรังสิต. สถาบันวิจัย
Keywords: การฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว -- วิจัย;การวางผังเมือง -- ไทย -- บางขุนเทียน (กรุงเทพฯ);ผังเมือง -- การออกแบบ -- วิจัย;การฟื้นฟูเมือง -- ไทย-- บางขุนเทียน (กรุงเทพฯ) -- วิจัย;เมือง -- การตกแต่งให้สวยงาม
Issue Date: 2546
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: มรดกตกทอดทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ที่ได้รับจากบรรพบุรุษเป็นสิ่งที่มีจิตวิญญาณ ได้บ่งบอกเรื่องราวของการสืบสานรากเง้าจากอดีต คือสิ่งที่สําคัญสุดต่อบทบาทของวิถีการ ดํารงชีวิตในวันนี้ และควรจะถูกถ่ายทอดออกมาได้อย่างภาคภูมิใจ ทั้งทางกาย วาจา ใจงานวิจัย นี้ เป็นการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของพื้นที่ชายทะเลบางขุนเทียน เพื่อเป็นการ ป้องกัน และอนุรักษ์ทรัพยากรทางธรรมชาติ และวิถีชีวิตของคนในพื้นที่ การวิจัยได้เล็งเห็นความสําคัญของมรดกตกทอดทางวัฒนธรรม วิถีชาวบ้าน จากอดีต และได้ค่อยๆแปรเปลี่ยนไปในปัจจุบันของคนในพื้นที่ สิ่งที่สําคัญที่สุดของการวิจัยนี้ คือ การสร้าง ความมั่นใจ ที่จะทําให้ผู้คนได้เห็นคุณค่า และให้ความเคารพต่อบริบทของพื้นที่บางขุนเทียน ซึ่ง ถือได้ว่าเป็นพื้นที่ชายฝั่งทะเลแห่งเดียวของกรุงเทพ โดยการ ปลุกจิตสํานึกขั้นพื้นฐานของคนให้ หวงแหนในการที่จะปกป้องพื้นที่ชายฝั่งทะเลแห่งเดียวของกรุงเทพมหานคร นั่นคือการทําความ เข้าใจในคุณค่าของธรรมชาติ และวัฒนธรรมดั้งเดิมของคนในพื้นที่ รวมถึง ยอมรับ วิถี่ร่วมสมัยที่ เปลี่ยนไปของสังคมความสัมพันธ์ ระหว่างมรดกตกทอด กับการท่องเที่ยวเป็นเรื่องที่มี ปฏิสัมพันธ์ อย่าง แยกกันลําบาก และอาจเป็นประเด็นขัดแย้งในมุมมองซึ่งกันและกัน ดังนั้นการพัฒนาจําเป็นต้อง พิจารณาอย่างรอบครอบ ครอบคลุม ทุกมิติ เพื่อความยั่งยืน ของวันนี้ และรุ่นต่อๆไปในอนาคต
metadata.dc.description.other-abstract: The nature and cultural heritage is a material and spiritual resource providing a narrative of historical development. It has an important role in modern life style and should be made physically, intellectually and emotively accessible to general public. Research of development plan for sustainable tourism of Bangkuntien aimed to provide the protection and conservation of the national resource and way of life. This research presented the significance of heritage places, traditions and cultural practices within the past experience and present diversities of the area and the local communities. Particularly important are efforts to ensure that attributed values are respected. Increasing awareness within the public of this fundamental dimension of heritage is an absolute necessity in order to arrive at concrete measure for safeguarding the vestiges the past. This means developing greater understanding of the values represented by the only properties in Bangkok which connected to the sea, as well as respecting the role in contemporary society. The relationship between heritage place and tourism is dynamic and may involve conflicting values. It should be managed in a sustainable way for present and future generations.
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/886
metadata.dc.type: Other
Appears in Collections:ARC-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Narupol Chaiyot.pdf14.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.