Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/899
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุมามาลย์ ปานคำ | - |
dc.contributor.author | สุวิทย์ สาสนพิจิตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-10T06:27:40Z | - |
dc.date.available | 2022-03-10T06:27:40Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/899 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สท.ม. (เทคโนโลยีสื่อสังคม)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561 | en_US |
dc.description.abstract | การเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกในรอบ 8 ปี จัดขึ้น เมื่อวัน ที่ 24 มีนาคม พ .ศ.2562 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งครั้งแรกมากกว่า6 ล้านคน วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความนิยมพรรคการเมืองผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 95,960 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีสุ่มตัว อย่างแบบหลายขั้นตอน จำนวน 351 คน เพื่อหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุโดยใช้เทคนิคสมการโครงสร้างและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป แบบจำลองวิจัยนี้ประกอบด้วยปัจจัย5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้าน อัตลักษณ์ของพรรคการเมือง 2) ด้านการบอกต่อปากต่อปากผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 3) บทบาทของพรรคการเมืองที่ดี 4)ภาพลักษณ์ของพรรคการเมือง และ 5) ความนิยมที่มีต่อพรรคการเมืองผลการวิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ พบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อ มูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างดีโดยมีค่าสถิติไค-สแควร์(Chi-square: χ2) เท่ากับ 105.842, องศาอิสระ(df)เท่ากับ 117, CMIN/df เท่ากับ 0.904, GFI เท่ากับ 0.970, CFI เท่ากับ 1.000, AGFI เท่ากับ 0.951,SRMR เท่ากับ 0.032, RMSEA เท่ากับ 0.000, Hoelter เท่ากับ 474 และค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์เท่ากับ 0.65 ซึ่งหมายความว่า อัตลักษณ์ของพรรคการเมือง การบอกต่อปากต่อปากผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ บทบาทของพรรคการเมืองที่ดี และภาพลักษณ์ของพรรคการเมือง ร่วมกัน อธิบายอิทธิพลต่อความนิยมที่มีต่อพรรคการเมืองผ่านสื่อสังคมออนไลน์ได้ร้อยละ 65 พรรคการเมืองสามารถนำ ผลการวิจัย นี้ไปใช้พัฒนากระบวนการสื่อสารการเมืองผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสร้างความนิยมและเพื่อให้การสื่อสารการเมืองมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | พรรคการเมือง -- ไทย -- ทัศนคติ | en_US |
dc.subject | สื่อสังคมออนไลน์ -- แง่การเมือง | en_US |
dc.subject | นักศึกษา -- การสำรวจทัศนคติ -- วิจัย | en_US |
dc.title | โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความนิยมพรรคการเมืองผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล | en_US |
dc.title.alternative | Causal relationship model of brand preference of political party through social media among the national university student in Bangkok and Vicinity | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The first general elections in 8 years will be held in Thailand on March,2019, in this election the first voters has more than 6 million people. The purpose of this research were to develop a causal relationship model of the preference of political party through social media among the national university student in Bangkok and vicinity and to examine the validity of the developed model with empirical data. The research using survey research methods and the sample group is students from nine national universities in Bangkok and vicinity, with an amount of 95,960 people. The samples were obtained using multi-stage sampling method of 351 samples. The tool used in this research is online questionnaires and the structural equation modeling techniques by using the computer software and to analyze the factors that effecting the preference of political party : 1) Identity of Political Party 2) Electronics Word of Mount 3) Authenticity of Political Party 4) Image of Political Party and 5) Preference of Political Party. The results of the study revealed that the model was consistent with the empirical data the results of Chi-square = 105.842, Degree of freedom = 117, CMIN/df = 0.904, GFI = 0.970, CFI = 1.000, AGFI = 0.951, SRMR = 0.032, RMSEA = 0.000, Hoelter = 474 and Forecasting co-efficient = 0.65, which means the preference of political party are influenced by the identity of political party, electronics word of mouth, authenticity of political party and image of a political party by 65.0 %. The political parties can be used this study to develop their political communication in order to gain popularity | en_US |
dc.description.degree-name | สารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | เทคโนโลยีสื่อสังคม | en_US |
Appears in Collections: | ICT-SMT-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suwit Sasanapichit.pdf | 2.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.