Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/905
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโกวิท รพีพิศาล-
dc.contributor.authorพลอยไพลิน ศิริมุจลินท์-
dc.date.accessioned2022-03-14T08:39:06Z-
dc.date.available2022-03-14T08:39:06Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/905-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม.(คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractสื่อโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค นอกจากจะช่วยให้ความรู้แล้วยังกระตุ้นความต้องการของผู้ใช้งาน ใน ปัจจุบันที่ธุรกิจสัตว์เลี้ยงกำลังเป็นที่นิยมและเปิดกว้าง มีร้านขายสัตว์เลี้ยงมากมายที่ให้เด็กซื้อสัตว์ เลี้ยงได้โดยไม่จำเป็นต้องได้รับการอนุญาตจากผู้ปกครอง และไม่มีการตรวจสอบความพร้อมของผู้ ซื้อ เด็กบางคนซื้อสัตว์เลี้ยงไปแล้วไม่สามารถเลี้ยงได้ นำสัตว์เหล่านั้นไปทิ้ง ก่อให้เกิดปัญหาสัตว์ จรจัด ปัญหาโรคติดต่อ พิษสุนัขบ้า และปัญหาสังคมอื่น ๆ ตามมา วิธีการแก้ปัญหาระยะยาวเป็นวิธี หนึ่งในการช่วยปลูกฝังความรับผิดชอบในการเลี้ยงสัตว์ของเด็กผ่าน 2D แอนิเมชันด้วยเนื้อหาที่ เรียบง่าย และชี้ชัดถึงความลำบากที่อาจเกิดขึ้นเมื่อเจ้าของไม่สามารถเลี้ยงสัตว์ของตัวเองได้ รวมทั้ง การนำสัตว์ไปให้ผู้อื่นเลี้ยงแทน จากการศึกษากับกลุ่มตัวอย่าง 102 คน ผู้ชาย 34 คน ผู้หญิง 68 คน พบว่า ต้นเหตุของความต้องการเลี้ยงสัตว์ของผู้เข้ารับการทดสอบส่วนใหญ่มาจากสื่อโซเชี่ยล เน็ตเวิร์ค ซึ่งมีภาพและข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์จริงดังสมมติฐาน ประกอบกับสำรวจผ่านการดูแอนิเมชัน พบว่าผู้รับการทดสอบสามารถเข้าใจได้ถึงประเด็นหลัก และสนุกไปกับแอนิเมชัน สามารถเข้าใจถึง ความสำคัญของความรับผิดชอบในการเป็นเจ้าของสัตว์เลี้ยง อย่างไรก็ตามผลการทดลองนี้ไม่ ครอบคลุมถึงประเภทของสัตว์หรือสายพันธุ์สัตว์แบบเฉพาะเจาะจง รวมถึงสาเหตุของผู้เข้ารับการ ทดสอบที่ไม่อยากเลี้ยงสัตว์ ซึ่งในส่วนนี้สามารถนำไปต่อยอดในอนาคตได้en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectแอนิเมชั่น -- การผลิต -- วิจัยen_US
dc.subjectการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectสัตว์เลี้ยง -- การเลี้ยงen_US
dc.subjectภาพยนตร์สองมิติen_US
dc.titleการออกแบบสื่อแอนิเมชั่นสองมิติสาหรับเด็กเพื่อความเข้าใจในความรับผิดชอบต่อสัตว์เลี้ยงen_US
dc.title.alternative2D animation design for children to understand the responsibility for animal husbandryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractSocial network promotes knowledge sharing as well as stimulates users’ desire. Nowadays, pet business has become widely popular. Children can now buy pets from a pet shop without getting permission from their parents. Some children buy pets are unable to keep them and eventually abandon them. This situation leads to various problems including an increase in the number of stray animals, contagious diseases, and other social problems. The aim of this study was, therefore, to propose a long-term solution to the problem through a two-dimensional animation multimedia. This animation contains both knowledge and fun. The content focuses on promoting responsibility and raising awareness about negative consequences of the animal abandonment. After the implementation of such animation with a sample group of 102 people, including 34 males and 68 females, it was found that the desire to own pets was influenced by the social network. The majority of the samples could understand the theme and had fun with the animation. Besides, they understood the significance of being responsible for their pets. However, the test results did not cover the specific types or species of pets as well as reasons why people did not want to raise pets. These aspects can be included in further studies.en_US
dc.description.degree-nameศิลปมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineคอมพิวเตอร์อาร์ตen_US
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ploypailin Sirimujalin.pdf4.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.