Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/908
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิศประไพ สาระศาลิน | - |
dc.contributor.author | อนัน วาโซะ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-14T08:51:24Z | - |
dc.date.available | 2022-03-14T08:51:24Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/908 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.(คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | เด็กและเยาวชนไทยในปัจจุบันมีอารมณ์ก้าวร้าว รุนแรง เราจะเห็นปัญหาการทาร้ายร่างกายกันจนถึงขั้นเสียชีวิตเป็นอยู่ประจำจากข่าวที่นำเสนอผ่านทางสื่อต่าง ๆ หลัก ๆ ของปัญหาคือ ส่วนใหญ่เด็กเหล่านี้มักจะเป็นผู้ถูกกระทาความรุนแรงมาก่อน มาจากครอบครัวที่มีปัญหา พ่อ แม่ไม่มีเวลาให้กัน ไม่ค่อยแสดงความรักต่อกัน ครอบครัวหย่าร้าง ถูกทอดทิ้งโดยพฤติกรรมต่าง ๆ ของพ่อ แม่หรือคนในครอบครัว จะมีผลกับตัวเด็กอย่างมาก ทั้งด้านดีและไม่ดี โดยเฉพาะ พ่อ และ แม่ เนื่องจากเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ตัวเด็กมากที่สุด เด็กจะเห็นและซึมซับผ่านการมองเห็น ได้ยิน และสัมผัส บางครั้งผู้ใหญ่ไม่ตระหนักถึงความสำคัญจึงแสดงพฤติกรรมด้านลบออกมา เช่น การสบถ ดุด่า ทะเลาะ ตบ ตี คนในบ้านหรือตัวเด็กเอง การกระทำดังกล่าวสร้างบาดแผลลึกไปถึงจิตใจของเด็ก ทำให้เกิดปัญหาความรุนแรงต่อเด็กขึ้นทันที เด็กจะเก็บกด เครียด กดดัน และพร้อมที่จะระเบิดออกมาเป็นความรุนแรงได้ง่ายกว่าคนปกติ สามารถสร้างความรุนแรงต่อร่างกาย ชีวิตตนเองและคนอื่นได้ เมื่อเด็กเหล่านี้เติบโตขึ้นมีโอกาสที่จะกลายเป็นผู้กระทำความรุนแรงเสียเองในอนาคต งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ผู้ใหญ่เกิดความรู้และตระหนักถึงปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก โดยมุ่งเน้นถึงการแสดงพฤติกรรมทางลบของผู้ใหญ่ในครอบครัว ซึ่งจะส่งผลเป็นปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก สื่อแอนิเมชัน 3 มิติ ความยาว 4 นาที จัดทำขึ้นเพื่อให้กลุ่มผู้ชม อายุตั้งแต่ 20 ปี ขึ้นไป ส่งเสริมการแสดงพฤติกรรมด้านบวกให้เด็กเห็นและซึมซับ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีแบบอย่างที่ดีในอนาคต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์แอนนิเมชั่น -- การผลิต -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.subject | ความรุนแรงต่อเด็ก -- การป้องกัน -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์สามมิติ -- การออกแบบ -- วิจัย | en_US |
dc.title | การออกแบบแอนิเมชัน 3 มิติเพื่อส่งเสริมความรู้และตระหนักถึงปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก | en_US |
dc.title.alternative | 3D animation design to promote knowledge and awareness of violence against children | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | Thai teenagers and children today tend to have an overly aggressive temper and are often involved in crimes. Based on the news presented through various media outlets, the main point of the problem is that, for the most part, these children have been victims of violence. They come from a troubled or divorced family where behaviors would have both positive and negative impacts on children who will internalize their parents’ behaviors through seeing, hearing, and touching. Sometimes, adults are unaware of fact and display negative behaviors such as swearing, scolding, fighting, and hitting the house or the child themselves. Such actions inflict deep wounds on the minds of children and cause them to be depressed, stressed, and ready to burst into violence more easily than other normal people. They may harm themselves and others. As these children grow up, there is a tendency that they will become the ones who will commit violence tin the future. The objective of this research is to create a 4-minute 3D animation to raise awareness of the adults about violence against children by focusing on the negative behaviors oft the adults in the family. The target audience are people aged over twenty years. By watching this animation, it is hoped that the audience would have an awareness and know how to be a good role model for their children | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | คอมพิวเตอร์อาร์ต | en_US |
Appears in Collections: | DIA- ComArt-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Anan Vasoh.pdf | 4.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.