Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/929
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภชัย ยาวะประภาษ-
dc.contributor.authorกิติมา แถลงกิจ-
dc.date.accessioned2022-03-24T06:58:06Z-
dc.date.available2022-03-24T06:58:06Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/929-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การก่อเกิดและบทบาทของเครือข่ายผู้ประกอบการรุ่นใหม่ (YEC) ในการพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น 2) รูปแบบความร่วมมือของเครือข่ายผู้ประกอบการรุ่นใหม่ (YEC) กับภาครัฐ 3) ปัจจัยที่ส่งเสริมให้กลุ่มทำงานได้ดี ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก 3 กลุ่ม จากกลุ่ม YEC ใน 4 จังหวัด คือ สมุทรสาคร สระบุรี แม่ฮ่องสอน และชลบุรี ที่เป็นกลุ่มผู้ประกอบรุ่นใหม่ จำนวน 14 คน หน่วยงานภาครัฐ หัวหน้าส่วนต่างๆ 4 คน ภาคชุมชน 1 กลุ่ม โดยใช้แนวคิดการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน แนวคิดประชาสังคม แนวคิดการมีส่วนร่วม และแนวคิดเครือข่ายทางสังคมประกอบการวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่ม YEC เกิดขึ้นจากการผลักดันนโยบายสร้างคนรุ่นใหม่ของหอการค้าไทย ความต้องการบรรลุเป้าหมายส่วนตัวและสร้างเครือข่ายของกลุ่ม YEC เอง และการสนับสนุนสมาชิกในครอบครัว ส่วนบทบาทของกลุ่ม YEC ทั้ง 4 แห่ง คล้ายกับหอการค้าจังหวัด คือ การพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น เพิ่มมูลค่าสินค้า และส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยมีรูปแบบความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ 3 ระดับสาคัญคือ 1) การประสานงานระหว่างหน่วยงาน มีลักษณะเป็นเครือข่ายความร่วมมือ 2) การร่วมมือในการดำเนินภารกิจร่วมกัน ส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบขององค์กรความร่วมมือที่ไม่มีสถานะนิติบุคคล 3) ความร่วมมือระดับสูงสุด คือ ทุกฝ่ายร่วมมือดำเนินภารกิจ ร่วมทำงาน ร่วมแบ่งปันทรัพยากร ร่วมรับผลประโยชน์ เกิดองค์กรใหม่ในรูปของบริษัท ส่วนปัจจัยที่ทำให้กลุ่ม YEC ร่วมมือกับภาครัฐได้ดี คือ ความคล่องตัวของภาคเอกชน การอำนาจหน้าที่ ทรัพยากร และศักยภาพ รวมถึงความเชื่อมั่นและไว้ใจต่อกลุ่ม YEC และการสนับสนุนของหอการค้าจังหวัด ซึ่งส่งผลให้เกิดเครือข่ายพัฒนาเศรษฐกิจ เกิดหุ้นส่วนการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน เป็นรูปแบบใหม่ของการพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น คือ “เอกชนนำ รัฐสนับสนุน ประชาชนได้ประโยชน์” เป็นความร่วมมือและหุ้นส่วนแบบลักษณะไทยๆ โดยมีภาครัฐเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้กำกับ ร่วมปฏิบัติงานen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectความร่วมมือระหว่างภาครัฐบาลและภาคเอกชนen_US
dc.subjectความเป็นผู้ประกอบการen_US
dc.subjectการพัฒนาเศรษฐกิจ -- การมีส่วนร่วมของประชาชนen_US
dc.titleความร่วมมือของภาครัฐและกลุ่มผู้ประกอบการรุ่นใหม่ (YEC) เพื่อเป็นพลังในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่นen_US
dc.title.alternativeCooperation between the government and the young entrepreneur chamber of commerce (YEC) in the local economic developmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed to investigate 1) the establishment and roles of Young Entrepreneur Chamber of Commerce (YEC) in developing the economy of local community, 2) patterns of its collaboration with the government sector, and 3) factors that contribute to YEC’s work performance. The research applied qualitative methodology in which data were obtained through in-depth interviews with 3 groups of key informants divided into 14 members of 4 provincial YECs including Samut Sakhon, Saraburi, Mae Hong Son, and Chonburi, 4 officials from government organizations, and one group of community representatives. The data were analyzed based on four theories namely: collaborative governance, civil society, participation, and social network. The result revealed that YEC was established in response to the Thai Chamber of Commerce’s policy of building a new generation, YEC’s needs for the establishment of a network and achievement, and support of family members. All 4 provincial YECs played the same roles as provincial chambers of commerce including local economy development, value addition, and tourism promotion. YEC was found to mainly have collaboration with the government sector in 3 levels: 1) coordination between organizations in the form of collaborative network, 2) collaboration in missions mostly found to deal with non-juristic organizations, 3) supreme collaboration in which all involving parties work together and share mutual resources and benefits resulting in the establishment of a new company. The factors leading to their collaborative success with the government sector included the private sector’s agility, power and duties, resources and their potential, trust and confidence in YEC, and support from provincial chambers of commerce. Those factors resulted in the establishment of economic development network and the occurrence of co-parties in collaborative governance as a new economic development approach in which “the private sector plays a leading role with support from the government for the benefits of the people” - a Thai pattern of collaboration directed and co-worked by the government sector.en_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineรัฐประศาสนศาสตร์en_US
Appears in Collections:PAI-PA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kitima Thalaengki.pdf5.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.